โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจกินผัก รักสุขภาพ
ชื่อโครงการ | โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจกินผัก รักสุขภาพ |
รหัสโครงการ | 67-L3049-3-08 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลสาบัน |
วันที่อนุมัติ | 29 กุมภาพันธ์ 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 17,520.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวซานะ อูมา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.82,101.439place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ส.ค. 2567 | 30 ก.ย. 2567 | 17,520.00 | |||
รวมงบประมาณ | 17,520.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 53 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การบริโภคอาหารอย่างพอเพียงและถูกต้องตามหลักโภชนาการ นับเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องตระหนัก และดูแลเอาใจใส่อย่างจริงจัง เพื่อการมีสุขภาพที่ดี แต่ทุกวันนี้ประเทศไทยกลับมีปัญหาด้านโภชนาการสมวัยเพิ่มมากขึ้น เด็กไทยในวันนี้น่าห่วง เพราะต้องเผชิญปัญหาอ้วน เตี้ย ผอม ส่งผลโง่ เรียนรู้ช้า ภูมิต้านทานต่ำ เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ซึ่งสาเหตุมาจากพฤติกรรมโภชนาการไม่ถูกต้อง เด็กที่มีภาวะอ้วน เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อ ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น สาเหตุสำคัญส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมโกชนาการไม่ถุกต้องซึ่งจากการสำรวจโภชนาการเด็กไทยพบว่า เด็กกินผักเพียงวันละ ๑ ๕ ข้อนโต๊ะ ทั้งที่ควรกินไม่ต่ำกว่าวันละ12 ช้อนโต๊ะ กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่ม รสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ ๖๗.๔ ส่งผลให้เด็กไทยมีปัญหาการทั้งชาดและเกิน โรคผอมเกินไป ขาดสารอาหาร และโรคอ้วนหรือภาวะโภชนาการเกินในเด็กมีผลกระทบต่อทั้งพัฒนาการทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม ปัจจัยสำคัญของภาวะโภชนาการขาดและเกิน คือ การบริโภคอาหารที่ไม่ได้สัดส่วนและมีปรีมาณไม่เหมาะสม ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลให้เด็กวัยเรียนมีแนวโน้มเป็นโรคขาดสารอาหารหรือ โรคอ้วนเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจาก ๑ ) เด็กกินไม่เป็น เพราะไม่มีความรู้ด้านโภชนาการ ทำให้กินไม่เพียงพอ กินอาหารไม่ครบ ๕ หมูใน ๑ วัน ชอบกินอาหารฟาสฟูด ที่มีรสหวานจัด มันจัด และเค็มจัด กินผักและผลไม้น้อยกว่าสัดส่วนมาตรฐานที่กำหนด ๒) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีถีชีวิตการหาอยู่หากินของครอบครัว ทำให้พ่อแม่ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลใจใส่ในเรื่องอาหารการกินของเด็ก อีกทั้งประกอบอาหารเองลดลง โดยเฉพาะสภาพครอบครัวในชนบหนึ่ง ครอบครัวฟันหลอ เด็กอาศัยกับปู่ย่าตายาย ในขณะที่พ่อแม่ไปทำงานต่างถิ่น จึงปล่อยให้เด็กเลือกกินอาหารเองตามสื่อโฆษณาชวนเชื่อ เช่น จากร้านสะดวกซื้อ หรือตามตลาดนัด ๓) ผักและผลไม้บางชนิดมีราคาแพง ประกอบกับครอบครัวรายได้น้อย จึงไม่สามารถหาซื้อมาให้ลูกหลานกินเป็นประจำได้ อีกทั้งผักผลไม้ตามท้องตลาดไม่ปลอดภัยจากสารพิษ ซึ่งจากการสำรวจในปี ๒๕๕๕๕ พบผักและผลไม้สดในห้างสรรพสินค้า ตลาดสด และรถเร่ขายของตามหมู่บ้าน โดยเฉลี่ยมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างสูงกว่ามาตรฐาน EU ร้อยละ ๔๐ ๔) แหล่งซื้ออาหารสุขภาพในโรงเรียนและชุมชนมีจำนวนน้อย ส่วนใหญ่ที่พบมีการจำหน่ายสินค้าจำพวกพวกขนมกรบกรอบและน้ำอัดลมในสหกรณ์และร้านค้า ๕) เมนูอาหารกลางวันที่โรงเรียนจัดบริการให้นักเรียนที่โรงเรียนนั้นไม่ถูกหลักโภชนาการ เนื่องจากมีสารอาหารประเภทโปรตีนและผักผลไม้ไม้ไม้ไม่เพียงพอตามคำแนะนำของกองโภชนากาการ กระทรวงสาธารณสุข การที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้ได้นั้น ส่วนหนึ่งควรจะต้องเกิดจากความร่วมมือร่วมใจกันในระดับครอบครัวก่อนเป็นอันดับแรก ซึ่งพ่อแม่ผู้ปกครองถือว่าเป็นผู้ดูแลอบรมเลี้ยงดูเด็ก ผู้ประกอบอาหารหรือจัดการอาหารในบ้าน รวมทั้งภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องซึ่งมีบทบาทสำคัญที่จะสนับสนุน ผลักดันระดับครอบครัวอีกทอดหนึ่ง ดังนั้น กองการศึกษาฯ องค์การบริหารส่วนตำบลสาบัน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการที่จะทำให้เด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง ๒ ศูนย์ที่สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลสาบัน มีสุขภาพดี แข็งแรงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย จึงได้จัดทำโครงการ "หนูน้อยวัยใส ใสใจกินผัก รักสุขภาพ" ประจำปี ๒๕๖๗ นั้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อกระตุ้นให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กินผักและผลไม้ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น |
80.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และทักษะจากการลงมือปฏิบัติจริงให้ผักและผลไม้น่าทาน ครูและผู้ปกครอง คิดค้นเมนูผักและผลไม้ใหม่ๆให้น่าทาน |
80.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 ส.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 | ิจกรรมปลูกผักและผลไม้ จัดซื้อ | 60 | 3,000.00 | - | ||
1 ส.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 | กิจกรรมพัฒนาเมนูผักและผลไม้ | 0 | 14,520.00 | - | ||
รวม | 60 | 17,520.00 | 0 | 0.00 |
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้กินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น
- ครูและผู้ปกครองได้คิดค้นเมนูผักและผลไม้ใหม่ๆให้น่าทาทาน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ส.ค. 2567 14:06 น.