กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดัน-เบาหวาน) ตำบลทุ่งลาน ”
ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุรีรัตน์ จันทคาร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดัน-เบาหวาน) ตำบลทุ่งลาน

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5169-67-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดัน-เบาหวาน) ตำบลทุ่งลาน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดัน-เบาหวาน) ตำบลทุ่งลาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดัน-เบาหวาน) ตำบลทุ่งลาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5169-67-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,299.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้นำการสาธารณสุขมูลฐานมาเป็นกลวิธีหลัก และกำหนดเป็นนโยบายสำคัญในการพัฒนางานสาธารณสุขของประเทศ บนหลักการสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพตนเอง และเพื่อนบ้าน ในรูปแบบอาสาสมัครสาธารณสุขหรือ อสม. เพื่อเป็นแกนนำด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในหมู่บ้าน ชุมชน มาเป็นระยะเวลาคึรบ 30 ปี ด้วยมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึก และศรัทธาใรการพัฒนาอันเป็นการแสดงให้เห็นถึงรูปธรรมการสร้างเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืนที่แท้จริง
กระทรวงสาธารณสุขได้มีการพัฒนาศักยภาพ อสม. อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ทั้งภาวะวิกฤติและภาวะปกติ ในหลากหลายรูปแบบที่เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทของพื้นที่ กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินนโยบายการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขด้วยการดำเนินการอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม. โดยมุ่งหวังว่าหาก อสม. ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นกลไกหลักสำหรับสร้างสังคมใหม่ที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะในด้านการคัดกรองโรคไม่ติดต่อในชุมชน เนื่องจากปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสำคัญระดับโลก ซึ่งส่งผลคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน และการพัฒนาประเทศ จากรายงานองค์อนามัยโลกจะมีผู้เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อประมาณ 36 ล้านคน (ร้อยละ 63) โดยประมาณร้อยละ 44 เสียชีวิต ก่อนอายุ 70 ปี สำหรับประเทศไทยถึงแม้จะมีแผนงานที่ดำเนินการเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ คือ โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ, โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง แต่การจัดการโรคโรคไม่ติดต่อยังไม่ได้ผลเท่าที่ควร มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เปรียบเทียบปี พ.ศ.2564 – 2567 เท่ากับร้อยละ 22.47, 23.45, 26.71 และ 27.73 ตามลำดับ จากการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา พบว่าระบบการป้องกันดูแลเชิงรุกของอาสาสมัครสาธารณสุข ยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากอาสาสมัครสาธารณสุขยังขาดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกัน ควบคุม และการคัดกรองเฝ้าระวังโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน ซึ่งมีบทบาทในการส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ให้สามารถดูแล และมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของประชาชนในชุมชน ด้วยการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ ให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในชุมชน เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ จึงมีนโยบายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะในการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง(ความดัน-เบาหวาน) ของ อสม. ตลอดจนพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง และดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในชุมชน โดยมีเป้าหมายที่จะดำเนินการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพ อสม. ในทุกหมู่บ้านให้เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในชุมชน เพื่อนำไปถ่ายทอดความรู้ ให้บริการ และประสานงานกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการ พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ (ความดัน-เบาหวาน) ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในเชิงปฎิบัติการด้านการคัดกรองโรค เบาหวาน
  3. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในเชิงปฎิบัติการด้านการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
  4. อสม. มีความรู้ และทักษะการตรวจสายตา การตรวจเท้า และการหาค่า BMI

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ พัฒนาศักยภาพ ในการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดัน – เบาหวาน)แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน ควบคุมและรักษาโรคไม่ติดต่ออย่างถูกต้อง 2 อสม. เกิดความตระหนักในการมีส่วนร่วมดูแล ป้องกัน ควบคุมและเฝ้าระวัง คัดกรองโรคไม่ติอดต่อของประชาชนตำบลทุ่งลาน 3 อสม. นำความรู้ที่ได้รับไปดููแลสุขภาพของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ประเมินจากแบบสอบถามก่อน – หลังอบรม อสม.ความรู้ความเข้าใจ เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ร้อยละ90
100.00

 

2 อสม. มีความรู้ และทักษะ ในเชิงปฎิบัติการด้านการคัดกรองโรค เบาหวาน
ตัวชี้วัด : อสม.สามารถใช้เครื่องมือการเจาะเลือดเพื่อตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดได้ถูกต้อง ร้อยละ100
100.00

 

3 อสม. มีความรู้ และทักษะ ในเชิงปฎิบัติการด้านการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : อสม.สามารถใช้เครื่องวัดความดันและประเมินค่าได้ถูกต้อง ร้อยละ 100
100.00

 

4 อสม. มีความรู้ และทักษะการตรวจสายตา การตรวจเท้า และการหาค่า BMI
ตัวชี้วัด : อสม.สามรถ ตรวจสายตา การตรวจเท้า และการหาค่า BMI ได้ถูกต้องร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) อสม. มีความรู้ และทักษะ ในเชิงปฎิบัติการด้านการคัดกรองโรค เบาหวาน (3) อสม. มีความรู้ และทักษะ ในเชิงปฎิบัติการด้านการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง (4) อสม. มีความรู้ และทักษะการตรวจสายตา การตรวจเท้า และการหาค่า BMI

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ พัฒนาศักยภาพ ในการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดัน – เบาหวาน)แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดัน-เบาหวาน) ตำบลทุ่งลาน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5169-67-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจุรีรัตน์ จันทคาร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด