โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตำบลลุโบะสาวอ ปีงบประมาณ 2567
ชื่อโครงการ | โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตำบลลุโบะสาวอ ปีงบประมาณ 2567 |
รหัสโครงการ | L6959-2567-2-0014 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม.รพ.สต.ลุโบะสาวอ |
วันที่อนุมัติ | 14 สิงหาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 สิงหาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 187,450.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายนิเฮง ซา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 815 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในปี 2567 มีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีอยู่ราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด ตามที่นิยามของสหประชาชาติ เมื่อประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 10 หรือประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุและเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ การที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจจะนำไปสู่ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกายอวัยวะต่างๆ เริ่มอ่อนแอและเกิดโรคง่าย รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและสังคม ด้วยความตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ รวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆ ด้านที่ได้กล่าวมาข้างต้น ชมรม อสม.รพ.สต.ลุโบะสาวอ จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดี ห่างไกลโรค สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุ ทั้งนี้ ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพและได้รู้จักวิธีการในการดูแลตัวเอง จำนวนร้อยละของผู้สูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพและรู้จักวิธีการในการดูแลตัวเอง |
40.00 | 80.00 |
2 | เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ จำนวนร้อยละของผู้สูงอายุ มีทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกาย |
40.00 | 80.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 187,450.00 | 0 | 0.00 | 187,450.00 | |
1 - 31 ส.ค. 67 | อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและวิธีการในการดูแลตัวเองให้แก่ผู้สูงอายุ | 0 | 187,450.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 187,450.00 | 0 | 0.00 | 187,450.00 |
- ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพและได้รู้จักวิธีการในการดูแลตัวเอง
- ผู้สูงอายุมีทักษะในการดุแลสุขภาพร่างกายของตนเอง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ส.ค. 2567 23:38 น.