โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567 ”
ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
1. นางจินตนา ศักดาอุโฆษกุล 2. นางปนัดดา เมฆศิขริน 3. นางสุจินต์ กาญจนาพงศาเวช 4. นางเลิศลักษณ์ กุญทีกาญจน์ 5. นางวีรวรรณ ตันติยะสกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567
ที่อยู่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 19/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,870.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพปัจจุบันนี้สุขอนามัยด้านโภชนาการ นับว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับประชาชนที่ควรจะมีความรู้ ชมรมแอโรบิคตันหยงมัสจึงตระหนักถึงภาวะปัญหาด้านสุขภาพอนามัยเป็นอย่างยิ่ง การรู้จักการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ การส่งเสริมการออกกำลังกาย การจัดการเรียนรู้บูรณาการผ่านการเต้น เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนได้มีการเคลื่อนไหวออกแรง ออกกำลังที่เหมาะสม จะช่วยทำให้การเจริญเติบโตของระบบกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ และระบบข้อต่างๆ ของร่างกาย พัฒนาไปอย่างเหมาะสมกับช่วงวัย นอกจากนี้ จะส่งผลดีต่อระบบหัวใจ และหลอดเลือด ช่วยควบคุมน้ำหนักตัว ลดการเกิดโรคที่มีสาเหตุจากการขาดการออกกำลังกาย และสร้างนิสัยให้รักการออกกำลังกายได้ด้วย เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรง ล้วนเป็นสิ่งที่ชมรมแอโรบิคตันหยงมัสต้องดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความพร้อมในการเรียนรู้ทั้งด้านหลักโภชนาการและการออกกำลังกายอย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนต้องมีความรู้เกี่ยวกับร่างกายของตนเอง รู้จักบทบาทของตนเอง และมีความเชื่อมั่นในการดูแลตนเองมากขึ้น ดังนั้นประชาชนจึงควรได้รับการส่งเสริมในเรื่องของการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย โดยที่ให้ทำกิจกรรมที่ไม่ยุ่งยากมากเกินไป ได้แก่ การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การออกกำลังกาย เป็นต้น จากสภาพปัญหาข้างต้น เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีขึ้นทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตมีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ รวมถึงการรู้จักและการเลือกบริโภคอาหารให้ถูกหลักโภชนาการครบ5หมู่ ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อีกทั้งยังมีกิจกรรมการเล่นและการเคลื่อนไหวต่างๆ ชมรมแอโรบิคตันหยงมัสจึงจัดทำโครงการ“ขยับกายสไตล์แอโรบิค”ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖7 ขึ้นมาโดยการออกกำลังกายวิธีหนึ่งเพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ที่สนใจการกระตุ้นให้เกิดความตระหนัก และตื่นตัวเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคี และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าวด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
- .เพื่อส่งเสริมกิจกรรมแนวทางเลือกใหม่ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารได้ถูกต้องตามหลักโภชนาการและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สมาชิกชมรมได้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
- สมาชิกชมรมได้ความรู้ ทักษะเกี่ยวกับการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
- สมาชิกชมรมได้ความรู้ เกี่ยวกับหลักโภชนาการเพื่อสุขภาพ
- สมาชิกชมรมได้ออกกำลังกายในรูปแบบใหม่ๆต่างไปจากเดิมและสามารถเพิ่มสมาชิกเข้าร่วมชมรมเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ร้อยละ 80
2
.เพื่อส่งเสริมกิจกรรมแนวทางเลือกใหม่ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถออกกำลังกายกิจกรรมแนวทางเลือกใหม่ ที่ถูกต้อง ร้อยละ 80
3
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารได้ถูกต้องตามหลักโภชนาการและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : . กลุ่มเป้าหมายสามารถบริโภคอาหารได้ตามหลักโภชนาการและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี (2) .เพื่อส่งเสริมกิจกรรมแนวทางเลือกใหม่ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารได้ถูกต้องตามหลักโภชนาการและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( 1. นางจินตนา ศักดาอุโฆษกุล 2. นางปนัดดา เมฆศิขริน 3. นางสุจินต์ กาญจนาพงศาเวช 4. นางเลิศลักษณ์ กุญทีกาญจน์ 5. นางวีรวรรณ ตันติยะสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567 ”
ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
1. นางจินตนา ศักดาอุโฆษกุล 2. นางปนัดดา เมฆศิขริน 3. นางสุจินต์ กาญจนาพงศาเวช 4. นางเลิศลักษณ์ กุญทีกาญจน์ 5. นางวีรวรรณ ตันติยะสกุล
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 19/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,870.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพปัจจุบันนี้สุขอนามัยด้านโภชนาการ นับว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับประชาชนที่ควรจะมีความรู้ ชมรมแอโรบิคตันหยงมัสจึงตระหนักถึงภาวะปัญหาด้านสุขภาพอนามัยเป็นอย่างยิ่ง การรู้จักการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ การส่งเสริมการออกกำลังกาย การจัดการเรียนรู้บูรณาการผ่านการเต้น เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนได้มีการเคลื่อนไหวออกแรง ออกกำลังที่เหมาะสม จะช่วยทำให้การเจริญเติบโตของระบบกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ และระบบข้อต่างๆ ของร่างกาย พัฒนาไปอย่างเหมาะสมกับช่วงวัย นอกจากนี้ จะส่งผลดีต่อระบบหัวใจ และหลอดเลือด ช่วยควบคุมน้ำหนักตัว ลดการเกิดโรคที่มีสาเหตุจากการขาดการออกกำลังกาย และสร้างนิสัยให้รักการออกกำลังกายได้ด้วย เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรง ล้วนเป็นสิ่งที่ชมรมแอโรบิคตันหยงมัสต้องดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความพร้อมในการเรียนรู้ทั้งด้านหลักโภชนาการและการออกกำลังกายอย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนต้องมีความรู้เกี่ยวกับร่างกายของตนเอง รู้จักบทบาทของตนเอง และมีความเชื่อมั่นในการดูแลตนเองมากขึ้น ดังนั้นประชาชนจึงควรได้รับการส่งเสริมในเรื่องของการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย โดยที่ให้ทำกิจกรรมที่ไม่ยุ่งยากมากเกินไป ได้แก่ การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การออกกำลังกาย เป็นต้น จากสภาพปัญหาข้างต้น เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีขึ้นทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตมีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ รวมถึงการรู้จักและการเลือกบริโภคอาหารให้ถูกหลักโภชนาการครบ5หมู่ ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อีกทั้งยังมีกิจกรรมการเล่นและการเคลื่อนไหวต่างๆ ชมรมแอโรบิคตันหยงมัสจึงจัดทำโครงการ“ขยับกายสไตล์แอโรบิค”ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖7 ขึ้นมาโดยการออกกำลังกายวิธีหนึ่งเพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ที่สนใจการกระตุ้นให้เกิดความตระหนัก และตื่นตัวเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคี และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าวด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
- .เพื่อส่งเสริมกิจกรรมแนวทางเลือกใหม่ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารได้ถูกต้องตามหลักโภชนาการและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สมาชิกชมรมได้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
- สมาชิกชมรมได้ความรู้ ทักษะเกี่ยวกับการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
- สมาชิกชมรมได้ความรู้ เกี่ยวกับหลักโภชนาการเพื่อสุขภาพ
- สมาชิกชมรมได้ออกกำลังกายในรูปแบบใหม่ๆต่างไปจากเดิมและสามารถเพิ่มสมาชิกเข้าร่วมชมรมเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | .เพื่อส่งเสริมกิจกรรมแนวทางเลือกใหม่ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถออกกำลังกายกิจกรรมแนวทางเลือกใหม่ ที่ถูกต้อง ร้อยละ 80 |
|
|||
3 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารได้ถูกต้องตามหลักโภชนาการและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ตัวชี้วัด : . กลุ่มเป้าหมายสามารถบริโภคอาหารได้ตามหลักโภชนาการและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี (2) .เพื่อส่งเสริมกิจกรรมแนวทางเลือกใหม่ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารได้ถูกต้องตามหลักโภชนาการและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการขยับกายสไตล์แอโรบิค ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( 1. นางจินตนา ศักดาอุโฆษกุล 2. นางปนัดดา เมฆศิขริน 3. นางสุจินต์ กาญจนาพงศาเวช 4. นางเลิศลักษณ์ กุญทีกาญจน์ 5. นางวีรวรรณ ตันติยะสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......