โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค ”
ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาดีละห์ วาเต๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา
ธันวาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค
ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กันยายน 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กันยายน 2567 - 30 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,425.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์ปัจจุบัน การทิ้งขยะ โดยขาดความรับผิดชอบ และไม่มีความรู้ในการจัดการ ขยะที่เกิดขึ้น จึงอาจถูกกำจัดด้วยวิธีการที่ไม่ถูกต้อง เช่น การเผาขยะ ใบไม้ เศษวัสดุ พลาสติก ซึ่ง ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ อีกทั้งยังก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจก เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ ที่เป็นพาหะนำเชื้อโรค คือ ยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก แมลงวันพาหะนำโรคอุจจาระร่วง แมลงสาบพาหะนำโรคอุจจาระร่วง ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพของนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ชาวบ้านในชุมชน ดังนั้นการลดการสร้างขยะ โดยเริ่มต้นจากการลดปริมาณขยะที่ใช้ในชีวิตประจำวันลง ทุกคนสามารถทำได้ตามแนวคิด 3R (Reduce Reuse and Recycle) จากสภาพปัญหาดังกล่าวจึงเป็นส่วนสำคัญให้เกิดแนวคิดในการดำเนินกิจกรรมลดขยะ ห่างไกลโรคภัยและยังเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เริ่มตั้งแต่พฤติกรรมการบริโภคและการแยกขยะจากต้นทาง การจัดการขยะที่ถูกต้อง การส่งเสริมความรู้ การจัดการขยะทั้ง ๔ ประเภทตาม หลัก3Rs การมีส่วนร่วมในผลสำเร็จและความยั่งยืน และการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้เพื่อให้ กิจกรรมเกิดความคุ้มค่า นักเรียนเกิดองค์ความรู้ ซึ่งจะสามารถลดปริมาณขยะ ลดการสร้างมลภาวะเป็นพิษในโรงเรียนและชุมชนและยังนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกเป็นการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้คงอยู่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
- เพื่อให้เด็ก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
- เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ จิตอาสาทั้งในโรงเรียนและชุมชน
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางและการจัดการขยะแบบ 3Rs แก่นักเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนครู บุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมชน
- นักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกต้อง
- โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่สะอาด ไม่เป็นแหล่งก่อโรค ปลอดภัยและเป็นระเบียบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางและการจัดการขยะแบบ 3Rs แก่นักเรียน
วันที่ 7 ตุลาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางและการจัดการขยะแบบ 3Rs แก่นักเรียน
1.1 บรรยายให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
1.2 บรรยายให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะแบบ 3Rs
กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ
2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มนักเรียน จำลอง สถานการณ์ ในการจัดการขยะของแต่ละกลุ่ม และร่วมกันจัดบอร์ดให้ความรู้ พร้อมทั้งนำเสนอผลงาน
2.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันแต่ละกลุ่ม
ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 รณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
กิจกรรมที่ 4 ติดตามผลการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางและการจัดการขยะแบบ 3Rs แก่นักเรียน
1.1 บรรยายให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
1.2 บรรยายให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะแบบ 3Rs
กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมการคัดแยกขยะ
2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มนักเรียน จำลอง สถานการณ์ ในการจัดการขยะของแต่ละกลุ่ม และร่วมกันจัดบอร์ดให้ความรู้ พร้อมทั้งนำเสนอผลงาน
2.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันแต่ละกลุ่ม
ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 รณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
กิจกรรมที่ 4 ติดตามผลการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ
120
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียน เยาวชนและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ร้อยละ 70
2
เพื่อให้เด็ก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
3
เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ จิตอาสาทั้งในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 70 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ จิตอาสาทั้งในโรงเรียนและชุมชน
4
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80มีความรู้ ความเข้าใจป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้เด็ก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (3) เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ จิตอาสาทั้งในโรงเรียนและชุมชน (4) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางและการจัดการขยะแบบ 3Rs แก่นักเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฟาดีละห์ วาเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค ”
ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาดีละห์ วาเต๊ะ
ธันวาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กันยายน 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กันยายน 2567 - 30 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,425.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์ปัจจุบัน การทิ้งขยะ โดยขาดความรับผิดชอบ และไม่มีความรู้ในการจัดการ ขยะที่เกิดขึ้น จึงอาจถูกกำจัดด้วยวิธีการที่ไม่ถูกต้อง เช่น การเผาขยะ ใบไม้ เศษวัสดุ พลาสติก ซึ่ง ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ อีกทั้งยังก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจก เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ ที่เป็นพาหะนำเชื้อโรค คือ ยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก แมลงวันพาหะนำโรคอุจจาระร่วง แมลงสาบพาหะนำโรคอุจจาระร่วง ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพของนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ชาวบ้านในชุมชน ดังนั้นการลดการสร้างขยะ โดยเริ่มต้นจากการลดปริมาณขยะที่ใช้ในชีวิตประจำวันลง ทุกคนสามารถทำได้ตามแนวคิด 3R (Reduce Reuse and Recycle) จากสภาพปัญหาดังกล่าวจึงเป็นส่วนสำคัญให้เกิดแนวคิดในการดำเนินกิจกรรมลดขยะ ห่างไกลโรคภัยและยังเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เริ่มตั้งแต่พฤติกรรมการบริโภคและการแยกขยะจากต้นทาง การจัดการขยะที่ถูกต้อง การส่งเสริมความรู้ การจัดการขยะทั้ง ๔ ประเภทตาม หลัก3Rs การมีส่วนร่วมในผลสำเร็จและความยั่งยืน และการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้เพื่อให้ กิจกรรมเกิดความคุ้มค่า นักเรียนเกิดองค์ความรู้ ซึ่งจะสามารถลดปริมาณขยะ ลดการสร้างมลภาวะเป็นพิษในโรงเรียนและชุมชนและยังนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกเป็นการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้คงอยู่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
- เพื่อให้เด็ก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
- เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ จิตอาสาทั้งในโรงเรียนและชุมชน
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางและการจัดการขยะแบบ 3Rs แก่นักเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนครู บุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบจากปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมชน
- นักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกต้อง
- โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่สะอาด ไม่เป็นแหล่งก่อโรค ปลอดภัยและเป็นระเบียบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางและการจัดการขยะแบบ 3Rs แก่นักเรียน |
||
วันที่ 7 ตุลาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางและการจัดการขยะแบบ 3Rs แก่นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางและการจัดการขยะแบบ 3Rs แก่นักเรียน
|
120 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : นักเรียน เยาวชนและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ร้อยละ 70 |
|
|||
2 | เพื่อให้เด็ก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง |
|
|||
3 | เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ จิตอาสาทั้งในโรงเรียนและชุมชน ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 70 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ จิตอาสาทั้งในโรงเรียนและชุมชน |
|
|||
4 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80มีความรู้ ความเข้าใจป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้เด็ก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (3) เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ จิตอาสาทั้งในโรงเรียนและชุมชน (4) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจป้องกันตนเองจากโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทางและการจัดการขยะแบบ 3Rs แก่นักเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการโรงเรียนบ้านบากงใส่ใจสิ่งแวดล้อม จัดการขยะห่างไกลโรค จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฟาดีละห์ วาเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......