โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพ
ชื่อโครงการ | โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพ |
รหัสโครงการ | 67-L5311-02-09 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด |
วันที่อนุมัติ | 22 สิงหาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กันยายน 2567 - 16 ธันวาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 16 ธันวาคม 2567 |
งบประมาณ | 37,396.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 2 ก.ย. 2567 | 16 ธ.ค. 2567 | 37,396.00 | |||
รวมงบประมาณ | 37,396.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตาซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้นทั้งนี้ตำบลน้ำผุดเป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ประกอบด้วยพื้นที่ ทำสวน ปลูกพืชผัก ซึ่งมีผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูง ตลอดจนการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง
จากข้อมูลดังกล่าวกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุดได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพขึ้น เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรในตำบลน้ำผุด ได้รับการคัดกรองสุขภาพเพื่อตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างเบื้องต้นแก่เกษตรกร ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้ตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างเบื้องต้น |
0.00 | |
2 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากการใช้สารเคมี และการใช้สมุนไพรล้างพิษ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้การป้องกันตนเองจากการใช้สารเคมี และการใช้สมุนไพรล้างพิษ |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 37,396.00 | 0 | 0.00 | 37,396.00 | |
20 ส.ค. 67 - 31 ธ.ค. 67 | ตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเบื้องต้น | 0 | 3,600.00 | - | - | ||
20 ส.ค. 67 - 31 ธ.ค. 67 | อบรมให้ความรู้การป้องกันตนเองจากการใช้สารเคมี และการใช้สมุนไพรล้างพิษ | 0 | 33,796.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 37,396.00 | 0 | 0.00 | 37,396.00 |
1.กลุ่มเกษตรกรได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเบื้องต้น
2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากสารเคมี และการใช้สมุนไพรล้างพิษ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ส.ค. 2567 00:00 น.