กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด ”
ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด




ชื่อโครงการ โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด

ที่อยู่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5311-02-11 เลขที่ข้อตกลง 12/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2567 ถึง 16 ธันวาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5311-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2567 - 16 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,806.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กในช่วงแรกเกิด - 5 ขวบ ถือเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจและสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ก็จะส่งผลถึงสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย ซึ่ง การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสม และเพียงพอจะทำให้มีโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทาง ตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหารหรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำ ให้เป็นโรคอ้วนหรือโภชนาการเกิน "โภชนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกินอาหาร ที่ร่างกายเรานำสารอาหารจาก อาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนซึ่งเป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ปัญหาโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้คือ ภาวะการเจริญเติบโตที่ไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะ โภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการ เลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลผุด ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด ประจำปีงบประมาณ 2567ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
  2. เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนมีภาวะโภชนาการปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่มีภาวะโภชนาการ
  2. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำการประชาสัมพันธ์ เตรียมสถานที่
  3. จัดอบรมให้ความรู้ในการดูแลน้ำหนักเด็กปฐมวัย 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการและเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนมีภาวะโภชนาการปกติ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมีความรู้เพิ่มขึ้น อย่างน้อย ร้อยละ 80
0.00

 

2 เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนมีภาวะโภชนาการปกติ
ตัวชี้วัด : เด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม มีภาวะโภชนาการปกติ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ (2) เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนมีภาวะโภชนาการปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่มีภาวะโภชนาการ (2) ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำการประชาสัมพันธ์ เตรียมสถานที่ (3) จัดอบรมให้ความรู้ในการดูแลน้ำหนักเด็กปฐมวัย 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5311-02-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด