โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเชิงรุก ปี 2567
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเชิงรุก ปี 2567 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม. ชุมชนโรงเรียนแหลมทองวิทยา |
วันที่อนุมัติ | 16 สิงหาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ตุลาคม 2567 |
งบประมาณ | 20,150.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | 1. นางพนิดา มะดิง 2. นางฮับเสาะ อีซอมูซอ 3. นางสาวพิกุล กวาวสิบ 4. นางสาวฮาซานีบะ มามะ 5. นางไอนี ศิริวัลลภ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.311,101.724place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 350 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ผู้สูงอายุถือเป็นปูชนียบุคคลที่มีคุณค่ายิ่งในสังคม เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามากและเคยเป็นกำลังสำคัญในชุมชนที่มีความรู้และทักษะและได้ทำคุณประโยชน์ให้กับชุมชนมาอย่างมากมาย แต่จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปและปัญหาทางด้านสุขภาพร่างกายที่ถดถอยไปตามวัย ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและสภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลง และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดและขาดการมีสัมพันธภาพที่ดีกับสมาชิกในชุมชนและขาดการเฝ้าระวังและติดตามประเมินโรคที่เกิดจากความถดถอยทางด้านร่างกาย รวมทั้งไม่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจิตทั้งจากผู้ดูแลและแกนนำทางด้านสุขภาพในชุมชนจะส่งผลเสียต่อการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุได้
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข จึงได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเชิงรุก ในเขตเทศบาลตำบลตันหยงมัสขึ้น โดยคาดหวังว่าจะเป็นประโยชน์สูงสุดแก่ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่และผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
|
||
2 | เพื่อติดตาม และคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง
|
||
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
๑. ผู้ดูแลผู้สูงอายุและแกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพทางด้านร่างกายและจิตใจของผู้สูงอายุ
๒. ผู้สูงอายุได้รับการติดตามและคัดกรองสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
๓. ผู้สูงอายุมีความรู้ดูแลสุขภาพด้วยตนเองเพิ่มขึ้น
๔. ผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ส.ค. 2567 15:08 น.