โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด ”
ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุชนาฎคงสุวรรณ ( รองประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทำนบ)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5264-2-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5264-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาประเทศให้มีความก้าวหน้า แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นการพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคตโดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม เพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต ปัจจุบันข้อมูลอนามัยและเด็ก ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า ๑๒ สัปดาห์การฝากครรภ์ไม่ครบ๕ครั้ง ตามเกณฑ์มาตรฐาน และ หญิงตั้งครรภ์ ไม่มีภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงสูงต่อการทำให้เกิดปัญหาการป่วย และการตายของมารดาจากการตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอดได้ เพื่อเตรียมสิ่งแวตล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเดิบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์สัมพันธภาพกับครอบครัว และที่สำคัญครอบครัวต้องมีส่วนร่วมในการปรับตัวและการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในขณะตั้งครรภ์ เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอดและหลังคลอดการฝากครรภ์ การบริโภค การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกาย และ การพักผ่อนเพื่อผ่อนคลาย จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของตำบลทำนบ ของปีที่ผ่านมา ได้แก่ ผลการดำเนินงานดูแลหญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ครั้งแรกครรภ์น้อยกว่า ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ ๘๐.๐๐ ( เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๘๐ ) การฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ ๖๐.๐๐ (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๙๕ ) หญิงตั้งครรภ์ มีภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ ๒๒.๒๒ (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ ๑๔ )ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤกรรมในการดูแลตนเองของหญิง ตั้งครรภ์ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ สามารภดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จากปัญหางานอนามัยแม่และเด็กดังกล่าวข้างต้น อาจส่งผลทำให้มารดาและบุตรมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัย อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทำนบ จึงได้จัดทำโครงการตั้งครรภ์ปลอดภัยฝากครรภ์เร็วไวป้องกันการคลอดก่อนกำหนด ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๗ ขึ้น โดยเน้นการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่อง การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทำนบ เป็นพี่เลี้ยง ในการช่วยดูแล แนะนำ เพื่อให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่คลอดก่อนกำหนด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหา และกระตุ้นให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป)
- เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมในการรดูแล หญิงตั้งครรภ์ และหญิงตั้งครรภ์ ที่มีความ เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ตำบลทำนบ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด
- เพื่อลดอัตราการคลอดกำหนด ของหญิงตั้งครรภ์ในตำบลทำนบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นตอนวางแผนงาน
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขั้นตอนการดำเนินงาน
- ประเมินผลการดำเนินงาน
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้ถูกต้อง
๒. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการดูแลรักษาอย่างครบถ้วน
๓. คนในครอบครัว และในชุมชน มีส่วนร่วมกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ เพื่อลดอัตราการคลอดกำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหา และกระตุ้นให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป)
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมในนการค้นหาและกระตุ้นให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุด
70.00
80.00
2
เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมในการรดูแล หญิงตั้งครรภ์ และหญิงตั้งครรภ์ ที่มีความ เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ตำบลทำนบ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : คนในครอบครัว และในชุมชน มีส่วนร่วมกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ เพื่อลดอัตราการคลอดกำหนด
70.00
80.00
3
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้ถูกต้อง
70.00
80.00
4
เพื่อลดอัตราการคลอดกำหนด ของหญิงตั้งครรภ์ในตำบลทำนบ
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการคลอดกำหนดของหญิงตั้งครรภ์ในตำบลทำนบ
70.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหา และกระตุ้นให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป) (2) เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมในการรดูแล หญิงตั้งครรภ์ และหญิงตั้งครรภ์ ที่มีความ เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ตำบลทำนบ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด (4) เพื่อลดอัตราการคลอดกำหนด ของหญิงตั้งครรภ์ในตำบลทำนบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นตอนวางแผนงาน (2) จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ (3) ขั้นตอนการดำเนินงาน (4) ประเมินผลการดำเนินงาน (5) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5264-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนุชนาฎคงสุวรรณ ( รองประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทำนบ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด ”
ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุชนาฎคงสุวรรณ ( รองประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทำนบ)
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5264-2-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5264-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาประเทศให้มีความก้าวหน้า แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นการพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคตโดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม เพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต ปัจจุบันข้อมูลอนามัยและเด็ก ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า ๑๒ สัปดาห์การฝากครรภ์ไม่ครบ๕ครั้ง ตามเกณฑ์มาตรฐาน และ หญิงตั้งครรภ์ ไม่มีภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงสูงต่อการทำให้เกิดปัญหาการป่วย และการตายของมารดาจากการตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอดได้ เพื่อเตรียมสิ่งแวตล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเดิบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์สัมพันธภาพกับครอบครัว และที่สำคัญครอบครัวต้องมีส่วนร่วมในการปรับตัวและการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในขณะตั้งครรภ์ เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอดและหลังคลอดการฝากครรภ์ การบริโภค การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกาย และ การพักผ่อนเพื่อผ่อนคลาย จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของตำบลทำนบ ของปีที่ผ่านมา ได้แก่ ผลการดำเนินงานดูแลหญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ครั้งแรกครรภ์น้อยกว่า ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ ๘๐.๐๐ ( เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๘๐ ) การฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ ๖๐.๐๐ (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๙๕ ) หญิงตั้งครรภ์ มีภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ ๒๒.๒๒ (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ ๑๔ )ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤกรรมในการดูแลตนเองของหญิง ตั้งครรภ์ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ สามารภดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จากปัญหางานอนามัยแม่และเด็กดังกล่าวข้างต้น อาจส่งผลทำให้มารดาและบุตรมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัย อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทำนบ จึงได้จัดทำโครงการตั้งครรภ์ปลอดภัยฝากครรภ์เร็วไวป้องกันการคลอดก่อนกำหนด ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๖๗ ขึ้น โดยเน้นการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่อง การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทำนบ เป็นพี่เลี้ยง ในการช่วยดูแล แนะนำ เพื่อให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่คลอดก่อนกำหนด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหา และกระตุ้นให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป)
- เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมในการรดูแล หญิงตั้งครรภ์ และหญิงตั้งครรภ์ ที่มีความ เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ตำบลทำนบ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด
- เพื่อลดอัตราการคลอดกำหนด ของหญิงตั้งครรภ์ในตำบลทำนบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นตอนวางแผนงาน
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ขั้นตอนการดำเนินงาน
- ประเมินผลการดำเนินงาน
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้ถูกต้อง ๒. หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการดูแลรักษาอย่างครบถ้วน ๓. คนในครอบครัว และในชุมชน มีส่วนร่วมกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ เพื่อลดอัตราการคลอดกำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหา และกระตุ้นให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป) ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมในนการค้นหาและกระตุ้นให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุด |
70.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมในการรดูแล หญิงตั้งครรภ์ และหญิงตั้งครรภ์ ที่มีความ เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ตำบลทำนบ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : คนในครอบครัว และในชุมชน มีส่วนร่วมกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ เพื่อลดอัตราการคลอดกำหนด |
70.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้ถูกต้อง |
70.00 | 80.00 |
|
|
4 | เพื่อลดอัตราการคลอดกำหนด ของหญิงตั้งครรภ์ในตำบลทำนบ ตัวชี้วัด : ลดอัตราการคลอดกำหนดของหญิงตั้งครรภ์ในตำบลทำนบ |
70.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหา และกระตุ้นให้มาฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป) (2) เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วมในการรดูแล หญิงตั้งครรภ์ และหญิงตั้งครรภ์ ที่มีความ เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ตำบลทำนบ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด (4) เพื่อลดอัตราการคลอดกำหนด ของหญิงตั้งครรภ์ในตำบลทำนบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นตอนวางแผนงาน (2) จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ (3) ขั้นตอนการดำเนินงาน (4) ประเมินผลการดำเนินงาน (5) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ฝากครรภ์เร็วไว ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5264-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนุชนาฎคงสุวรรณ ( รองประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลทำนบ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......