โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางมธุรส เทพกิจ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1535-3-01 เลขที่ข้อตกลง 15/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 สิงหาคม 2567 ถึง 28 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1535-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 สิงหาคม 2567 - 28 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ มท 0816.4/ ว.1214 ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2564 เรื่องการเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองท้องถิ่น ปีการศึกษา 2564 ( 2 ) การส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยของเด็ปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย โดยสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการสวมหมวกนิรภัย กำหนดพื้นที่ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัยเป็นเขตสวมหมกนิรภัย 100 % และการที่เด็กเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน 99% สาเหตุเกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย โดยรายงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ยังเผยว่า มีเด็กไทยเพียง 7%เท่านั้นที่ใส่หมวกนิรภัยระหว่างการเดินทาง ซึ่งอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยนี่เอง สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน และเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆ คนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ แล้วก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่แม้จะสวมหมวกนิรภัยให้เด็ก แต่กลับไม่รู้ว่าจะเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขนาดพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร ด้วยเหตุนี้ การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐาน รวมถึงการเรียนรู้วิธีการใช้ถนนอย่างถูกต้อง จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนน เพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ ดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้ถนน การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็ก พ่อแม่ และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมอบรมการใช้งานที่ถูกวิธี ซึ่งเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากในการช่วยลดจำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่ถือเป็นอนาคตของชาติ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนไทรได้เล็งเห็นความสำคัญจากอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็ก และเพื่อเป็นการป้องกันและดูแลความปลอดภัยตลอดจนเพื่อการปลูกฝังการสร้างวัฒนธรรมการขับขี่รถบนท้องถนน การรณรงค์การสวมหมวกกันน๊อค และเพื่อเป็นการบูรณาการ การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการให้สอดคล้องตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2560 จึงได้จัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์
- เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์
- เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์
- เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- เพื่อเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการทำงานด้านความปลอดภัยทางถนนแบบสหสาขา
- เพื่อลดคนเดินเท้าที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
- จัดอบรม/ประชุมผู้ปกครอง เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่พ่อแม่ และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมอบรมการใช้งานที่ถูกวิธี
- รณรงค์ส่งเสริมให้ผู้ปกครองใส่หมวกกันน๊อคในการรับส่งเด็กนักเรียนในขณะที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ค่าวิทยากรให้ความรู้ เป็นเงิน 900 บาท
- หมวกกันน๊อคสำหรับเด็ก เป็นเงิน 8,170 บาท
- ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 450 บาท
- ค่าอาหารว่าง เป็นเงิน 950 บาท
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
38
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
38
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
4.1 เด็กมีความรู้ความเข้าใจในด้านการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องและปลอดภัย
4.2 เด็กรู้จักสัญญาณไฟจราจรและป้ายจราจรบนท้องถนน
4.3 ปลูกฝังจิตสำนึกในพฤติกรรมป้องกันและส่งเสริมวินัยจราจรในการขับขี่ ด้านการสวมหมวกนิรภัย
4.4 เด็ก และผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมระเบียบวินัยในการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5.00
2.00
2
เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสียชีวิตจากการใช้รถจักรยานยนต์
2.00
0.00
3
เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากการใช้รถจักรยานยนต์
10.00
2.00
4
เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.00
1.00
5
เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากการใช้รถจักรยานยนต์
10.00
5.00
6
เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5.00
2.00
7
เพื่อเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการทำงานด้านความปลอดภัยทางถนนแบบสหสาขา
ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยทางถนน (เช่น มีการจัดประชุม ศปถ.อปท. ในลักษณะการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ไตรมาสละ 1 ครั้ง หรือมีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรท้องถิ่นที่ทำหน้าที่ด้านความปลอดภัยทางถนน)
1.00
0.00
8
เพื่อลดคนเดินเท้าที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละคนเดินเท้าที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2.00
0.00
9
เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5.00
2.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
76
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
38
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
38
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์ (3) เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์ (4) เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (5) เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์ (6) เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (7) เพื่อเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการทำงานด้านความปลอดภัยทางถนนแบบสหสาขา (8) เพื่อลดคนเดินเท้าที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (9) เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ (2) จัดอบรม/ประชุมผู้ปกครอง เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่พ่อแม่ และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมอบรมการใช้งานที่ถูกวิธี (3) รณรงค์ส่งเสริมให้ผู้ปกครองใส่หมวกกันน๊อคในการรับส่งเด็กนักเรียนในขณะที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) ค่าวิทยากรให้ความรู้ เป็นเงิน 900 บาท (5) หมวกกันน๊อคสำหรับเด็ก เป็นเงิน 8,170 บาท (6) ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 450 บาท (7) ค่าอาหารว่าง เป็นเงิน 950 บาท
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1535-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมธุรส เทพกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางมธุรส เทพกิจ
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1535-3-01 เลขที่ข้อตกลง 15/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 สิงหาคม 2567 ถึง 28 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1535-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 สิงหาคม 2567 - 28 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากคม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ มท 0816.4/ ว.1214 ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2564 เรื่องการเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองท้องถิ่น ปีการศึกษา 2564 ( 2 ) การส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยของเด็ปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย โดยสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการสวมหมวกนิรภัย กำหนดพื้นที่ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัยเป็นเขตสวมหมกนิรภัย 100 % และการที่เด็กเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน 99% สาเหตุเกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย โดยรายงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ยังเผยว่า มีเด็กไทยเพียง 7%เท่านั้นที่ใส่หมวกนิรภัยระหว่างการเดินทาง ซึ่งอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยนี่เอง สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน และเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆ คนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ แล้วก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่แม้จะสวมหมวกนิรภัยให้เด็ก แต่กลับไม่รู้ว่าจะเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขนาดพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร ด้วยเหตุนี้ การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐาน รวมถึงการเรียนรู้วิธีการใช้ถนนอย่างถูกต้อง จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนน เพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ ดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้ถนน การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็ก พ่อแม่ และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมอบรมการใช้งานที่ถูกวิธี ซึ่งเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากในการช่วยลดจำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่ถือเป็นอนาคตของชาติ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนไทรได้เล็งเห็นความสำคัญจากอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็ก และเพื่อเป็นการป้องกันและดูแลความปลอดภัยตลอดจนเพื่อการปลูกฝังการสร้างวัฒนธรรมการขับขี่รถบนท้องถนน การรณรงค์การสวมหมวกกันน๊อค และเพื่อเป็นการบูรณาการ การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการให้สอดคล้องตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2560 จึงได้จัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์
- เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์
- เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์
- เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- เพื่อเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการทำงานด้านความปลอดภัยทางถนนแบบสหสาขา
- เพื่อลดคนเดินเท้าที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
- จัดอบรม/ประชุมผู้ปกครอง เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่พ่อแม่ และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมอบรมการใช้งานที่ถูกวิธี
- รณรงค์ส่งเสริมให้ผู้ปกครองใส่หมวกกันน๊อคในการรับส่งเด็กนักเรียนในขณะที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ค่าวิทยากรให้ความรู้ เป็นเงิน 900 บาท
- หมวกกันน๊อคสำหรับเด็ก เป็นเงิน 8,170 บาท
- ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 450 บาท
- ค่าอาหารว่าง เป็นเงิน 950 บาท
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 38 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 38 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
4.1 เด็กมีความรู้ความเข้าใจในด้านการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องและปลอดภัย 4.2 เด็กรู้จักสัญญาณไฟจราจรและป้ายจราจรบนท้องถนน 4.3 ปลูกฝังจิตสำนึกในพฤติกรรมป้องกันและส่งเสริมวินัยจราจรในการขับขี่ ด้านการสวมหมวกนิรภัย 4.4 เด็ก และผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมระเบียบวินัยในการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
5.00 | 2.00 |
|
|
2 | เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์ ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสียชีวิตจากการใช้รถจักรยานยนต์ |
2.00 | 0.00 |
|
|
3 | เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์ ตัวชี้วัด : จำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากการใช้รถจักรยานยนต์ |
10.00 | 2.00 |
|
|
4 | เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
3.00 | 1.00 |
|
|
5 | เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์ ตัวชี้วัด : จำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากการใช้รถจักรยานยนต์ |
10.00 | 5.00 |
|
|
6 | เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวชี้วัด : จำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
5.00 | 2.00 |
|
|
7 | เพื่อเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการทำงานด้านความปลอดภัยทางถนนแบบสหสาขา ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยทางถนน (เช่น มีการจัดประชุม ศปถ.อปท. ในลักษณะการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ไตรมาสละ 1 ครั้ง หรือมีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรท้องถิ่นที่ทำหน้าที่ด้านความปลอดภัยทางถนน) |
1.00 | 0.00 |
|
|
8 | เพื่อลดคนเดินเท้าที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวชี้วัด : ร้อยละคนเดินเท้าที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
2.00 | 0.00 |
|
|
9 | เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
5.00 | 2.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 76 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 38 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 38 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์ (3) เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์ (4) เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (5) เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากรถจักรยานยนต์ (6) เพื่อลดจำนวนผู้บาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (7) เพื่อเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการทำงานด้านความปลอดภัยทางถนนแบบสหสาขา (8) เพื่อลดคนเดินเท้าที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (9) เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ (2) จัดอบรม/ประชุมผู้ปกครอง เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่พ่อแม่ และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมอบรมการใช้งานที่ถูกวิธี (3) รณรงค์ส่งเสริมให้ผู้ปกครองใส่หมวกกันน๊อคในการรับส่งเด็กนักเรียนในขณะที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) ค่าวิทยากรให้ความรู้ เป็นเงิน 900 บาท (5) หมวกกันน๊อคสำหรับเด็ก เป็นเงิน 8,170 บาท (6) ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 450 บาท (7) ค่าอาหารว่าง เป็นเงิน 950 บาท
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1535-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมธุรส เทพกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......