กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชนปลอดบุหรี่ ”
ตำบลเวียง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา



หัวหน้าโครงการ
นายวิญญู ชินรังคกุล




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชนปลอดบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลเวียง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จังหวัด พะเยา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชนปลอดบุหรี่ จังหวัดพะเยา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเวียง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพะเยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชนปลอดบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชนปลอดบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเวียง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,178.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพะเยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพที่รุนแรงถึงชีวิต และทำให้ผู้สูบเกิดความพิการตลอดชีวิต ซึ่งผู้ที่สูบบุหรี่ นอกจากมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค อันเนื่องมาจากการสูบบุหรี่แล้ว ยังปลดปล่อยควันบุหรี่มือสอง ที่สร้างความเดือดร้อน รำคาญ และเป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ที่อยู่รอบข้าง โดยเฉพาะในสถานศึกษา สถานที่ราชการ สถานที่ทำงานหรือสถานประกอบการซึ่งเป็นแหล่งเสี่ยงต่อสุขภาพมาก ในขณะเดียวกันการสูบบุหรี่มือสอง (passive smokine) หรือการได้รับควันบุหรี่จากผู้ใกล้ชิด ก็ทำให้ผู้ที่ได้รับควันบุหรี่ เกิดโรคที่มีอันตรายถึงชีวิตได้เช่นเดียวกัน เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคสมองขาดเลือด เป็นต้น นอกจากนั้น การปล่อยให้มีการสูบบุหรี่ในสถานที่ราชการ สถานที่ทำงานของสถานประกอบการ โดยไม่มีมาตรการควบคุม ยังสร้างความเสี่ยงต่อชีวิตและทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการเกิดอัคคีภัย การเกิดอุบัติเหตุ รวมทั้ง เพิ่มภาระและค่าใช้จ่ายในการทำความสะอาดพื้นที่เนื่องมาจากควันบุหรี่และก้นบุหรี่ อีกทั้งตอนนี้ยังมีปัญหาเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าซึ่งเป็นที่นิยมและสร้างนักสูบหน้าใหม่ขึ้นมาอีกมาก ซึ่งบุหรี่ไฟฟ้านั้นก็เป็นสารเคมีและปัญหาสังคมอีกทางหนึ่ง ชุมชนวัดศรีโคมคำ ยังพบผู้ที่สูบบุหรี่มาเป็นเวลานานจำนวน ๒๐ คน ชาย ๑๘ คน หญิง ๒ คน มีร้านค้าจำหน่ายบุหรี่จำนวน ๔ ร้าน และส่งผลกระทบต่อสุขภาพตนเองในระยะยาว เมื่ออายุมากขึ้นมักเจอปัญหาเป็นโรคมะเร็งปอด,ปอดอักเสบตลอดจนระบบบหายใจมีปัญหาต้องเจาะคอเพื่อช่วยหายใจ หากครอบครัวไหนมีผู้ป่วยประเภทนี้แล้วก็สร้างปัญหาในครอบครัวส่งผลเสียทุกด้านให้ครอบครัว ดังนั้นทางชุมชนวัดศรีโคมคำจึงเห็นความสำคัญในการจัดทำโครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชมชนปลอดบุหรี่นี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คนในชุมชนวัดศรีโคมคำมีความรู้ ความเข้าใจถึงโทษภัยของบุหรี่
  2. เพื่อให้ชุมชนวัดศรีโคมคำมีมาตรการควบคุมการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำโครงการฯ เสนอขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพะเยา
  2. รวบรวมรายงานผลการดำเนินงาน และประเมินผลการดำเนินงาน
  3. ติดตามผลการทดลองใช้สมุนไพรในการลดอาการอยากบุหรี่ในชุมชน
  4. ดำเนินการอบรมให้ความรู้แกนนำโครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชมชนปลอดบุหรี่ จำนวน 50 คน
  5. รายงานผลการดำเนินงานให้กองทุนหลักประกันสุขภาพ
  6. อบรมให้ความรู้แกนนำโครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชมชนปลอดบุหรี่ จำนวน 50 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกาย รู้ถึงโทษของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า ๒. เกิดแกนนำผู้ที่สามารถนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปบอกต่อคนในชุมชนได้ ๓. ชุมชนวัดศรีโคมคำมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ ๔. ลดอัตราการเกิดนักสูบหน้าใหม่ ๕. สถานที่สาธารณะในชุมชนเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ ๑๐๐ เปอร์เซนต์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คนในชุมชนวัดศรีโคมคำมีความรู้ ความเข้าใจถึงโทษภัยของบุหรี่
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ชุมชนวัดศรีโคมคำมีมาตรการควบคุมการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คนในชุมชนวัดศรีโคมคำมีความรู้ ความเข้าใจถึงโทษภัยของบุหรี่ (2) เพื่อให้ชุมชนวัดศรีโคมคำมีมาตรการควบคุมการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการฯ เสนอขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพะเยา (2) รวบรวมรายงานผลการดำเนินงาน และประเมินผลการดำเนินงาน (3) ติดตามผลการทดลองใช้สมุนไพรในการลดอาการอยากบุหรี่ในชุมชน (4) ดำเนินการอบรมให้ความรู้แกนนำโครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชมชนปลอดบุหรี่ จำนวน 50 คน (5) รายงานผลการดำเนินงานให้กองทุนหลักประกันสุขภาพ (6) อบรมให้ความรู้แกนนำโครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชมชนปลอดบุหรี่ จำนวน 50 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนวัดศรีโคมคำ ชุมชนปลอดบุหรี่ จังหวัด พะเยา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิญญู ชินรังคกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด