โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุพัฒนา เนียมน้อย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป
ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L8412-08-018 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L8412-08-018 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประชาชนไทยมีอายุยืนขึ้น ผลจากการที่มีอายุมากขึ้นย่อมมีสภาพร่างกายที่เสื่อมสภาพลงตามธรรมชาติ เนื่องจากความชราระบบอวัยวะต่างๆ จะทำงานด้อยประสิทธิภาพลง ทำให้อุบัติการณ์ของโรคต่างๆ เพิ่มมากขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้นด้วย ผู้สูงอายุจะมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย และด้านจิตใจ นำไปสู่ปัญหาทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจของครอบครัว ดังนั้นการตรวจสุขภาพเป็นระยะ รวมทั้งการให้ความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุเฝ้าระวังในการดูแลสุขภาพของตนเอง ผู้สูงอายุหลายคน เมื่อไปพบแพทย์ มักจะมีความคาดหวังว่าแพทย์ต้องให้การ รักษา หรือให้ยาที่จะทำให้หายจากโรคต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วทันทีทันใด แต่ใน ความเป็นจริงการป้องกันหรือรักษาอาการป่วยต่างๆ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย สิ่งสำคัญคือการดูแลตนเองก่อนที่โรคเหล่านั้นจะพัฒนาไปถึงขั้นที่รักษาไม่หาย หลายโรคในผู้สูงอายุสามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อน เกิดโรค เช่น เบาหวาน ความดัน โรคข้อเข่าต่างๆ เป็นต้น
สำหรับการหกล้มในผู้สูงอายุ หากเกิดขึ้นแล้วมีแนวโน้มที่จะพิการ และเป็นอันตรายถึงชีวิต แต่สามารถป้องกันได้ด้วยการลดปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ไม่ว่า จะเป็นสภาพแวดล้อมภายในบ้าน และสภาพร่างกายของผู้สูงอายุเอง ดังนั้นการให้ข้อมูลความรู้เรื่องการหกล้มในผู้สูงอายุ มีความจำเป็น การประเมินความเสี่ยงการหกล้มด้วยตนเอง หรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่จะมาช่วย ป้องกันการหกล้ม การออกกำลังกายที่เหมาะสมป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ ซึ่งมีวิธีออกกำลังกายง่ายๆ สามารถทำเองได้ที่บ้าน หรือทำเป็นกลุ่ม รวมทั้งหากผู้สูงอายุเกิดหกล้ม จะทำอย่างไรเพื่อช่วยเหลือ ได้อย่างปลอดภัยมากที่สุด จากการสอบถามสมาชิกชมรมยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาปขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคม มีความรู้ มีทักษะในการป้องกันการพลัดตก หกล้มได้
- เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุที่ ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคมได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน และผู้สูงอายุติดสังคม มีความรู้ มีทักษะในการป้องกันการพลัดตก หกล้มได้
- อุบัติการณ์จากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุที่ติดบ้าน และผู้สูงอายุติดสังคม มีแนวโน้มลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคม มีความรู้ มีทักษะในการป้องกันการพลัดตก หกล้มได้
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุที่ ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคมได้
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคม มีความรู้ มีทักษะในการป้องกันการพลัดตก หกล้มได้ (2) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุที่ ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคมได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L8412-08-018
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุพัฒนา เนียมน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุพัฒนา เนียมน้อย
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L8412-08-018 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L8412-08-018 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประชาชนไทยมีอายุยืนขึ้น ผลจากการที่มีอายุมากขึ้นย่อมมีสภาพร่างกายที่เสื่อมสภาพลงตามธรรมชาติ เนื่องจากความชราระบบอวัยวะต่างๆ จะทำงานด้อยประสิทธิภาพลง ทำให้อุบัติการณ์ของโรคต่างๆ เพิ่มมากขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้นด้วย ผู้สูงอายุจะมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย และด้านจิตใจ นำไปสู่ปัญหาทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจของครอบครัว ดังนั้นการตรวจสุขภาพเป็นระยะ รวมทั้งการให้ความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุเฝ้าระวังในการดูแลสุขภาพของตนเอง ผู้สูงอายุหลายคน เมื่อไปพบแพทย์ มักจะมีความคาดหวังว่าแพทย์ต้องให้การ รักษา หรือให้ยาที่จะทำให้หายจากโรคต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วทันทีทันใด แต่ใน ความเป็นจริงการป้องกันหรือรักษาอาการป่วยต่างๆ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย สิ่งสำคัญคือการดูแลตนเองก่อนที่โรคเหล่านั้นจะพัฒนาไปถึงขั้นที่รักษาไม่หาย หลายโรคในผู้สูงอายุสามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อน เกิดโรค เช่น เบาหวาน ความดัน โรคข้อเข่าต่างๆ เป็นต้น สำหรับการหกล้มในผู้สูงอายุ หากเกิดขึ้นแล้วมีแนวโน้มที่จะพิการ และเป็นอันตรายถึงชีวิต แต่สามารถป้องกันได้ด้วยการลดปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ไม่ว่า จะเป็นสภาพแวดล้อมภายในบ้าน และสภาพร่างกายของผู้สูงอายุเอง ดังนั้นการให้ข้อมูลความรู้เรื่องการหกล้มในผู้สูงอายุ มีความจำเป็น การประเมินความเสี่ยงการหกล้มด้วยตนเอง หรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่จะมาช่วย ป้องกันการหกล้ม การออกกำลังกายที่เหมาะสมป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ ซึ่งมีวิธีออกกำลังกายง่ายๆ สามารถทำเองได้ที่บ้าน หรือทำเป็นกลุ่ม รวมทั้งหากผู้สูงอายุเกิดหกล้ม จะทำอย่างไรเพื่อช่วยเหลือ ได้อย่างปลอดภัยมากที่สุด จากการสอบถามสมาชิกชมรมยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาปขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคม มีความรู้ มีทักษะในการป้องกันการพลัดตก หกล้มได้
- เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุที่ ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคมได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน และผู้สูงอายุติดสังคม มีความรู้ มีทักษะในการป้องกันการพลัดตก หกล้มได้
- อุบัติการณ์จากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุที่ติดบ้าน และผู้สูงอายุติดสังคม มีแนวโน้มลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคม มีความรู้ มีทักษะในการป้องกันการพลัดตก หกล้มได้ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุที่ ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคมได้ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคม มีความรู้ มีทักษะในการป้องกันการพลัดตก หกล้มได้ (2) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุที่ ติดบ้าน และผู้สูงอายุ ติดสังคมได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันการพลัดตก หกล้มในผู้สูงอายุตำบลท่าสาป จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L8412-08-018
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุพัฒนา เนียมน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......