กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2568 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางวิภาดา เต็มยอด กรรมการและเลขานุการกองทุน




ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3357-04-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3357-04-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 116,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
  6. เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การบริหารจัดการกองทุน
  2. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน
  3. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการ LTC
  4. กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
  5. กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่ผู้ขอรับทุน
  6. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 1/2568 (ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2568)
  7. กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ ผู้ขอรับทุน และการจัดทำแผนกองทุน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 35

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1สามารถสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยงานที่ขอรับทุนได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของงบประมาณประจำปีของกองทุน
2.คณะกรรมการบริหารกองทุน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ อย่างน้อย คนละ 1 ครั้ง
3.สามารถสนับสนุนงบประมาณให้แ่ก่ประชาชนทั่วไปที่ขอรับทุนได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70ของจำนวนกลุ่มที่ขอรับงบประมาณ
4.มีการรายงานผลการดำเนินโครงการได้ครบถ้วนสมบูรณ์ อย่างน้อย ร้อยละ 50 ของโครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณกองทุน
5.โครงการที่ได้รับการสนับสนุุนงบประมาณสามารถรายงานผลโครงการภายในเวลาที่กำหนดในโครงการได้ อย่างน้อยร้อยละ 70
6.สามารถจัดประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการได้ครบตามประกาศ คือ 4 ครั้ง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมเอกสารประกอบการประชุม
กำหนดวัน เวลา ประชุม
จัดทำหนังสือเชิญประชุม ระเบียบวาระการประชุม
จัดส่งเอกสารประกอบการประชุมให้แก่คณะกรรมการ และผู้เกี่ยวข้อง
ดำเนินการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
จัดประชุม วันที่ 13 พฤศจิกายน 2567 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม (ชั้นย 2) สำนักงานเทศบาลตำบลนาโหนด
คณะกรรมการ และผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม จำนวน 23 คน
ผลลัพธ์
ที่ประชุมมีมติ ดังนี้
1.รับทราบรายงานสถานะการเงินกองทุน ประจำปีงบบประมาณ 2567 และ สถานะการเงิน ประจำปี งบประมาณ 2568 ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2567
2.รับทราบรายงานผลการดำเนินโครงการของหน่วยงานที่ขอรับทุน ประจำปี 2567 จำนวน 10 โครงการ
3.เห็นชอบแผนสุขภาพกองทุนตำบล ตำบลนาโหนด ประจำปี 2568
4.เห็นชอบโครงการและอนุมัติงบประมาณสนับสนุนให้แก่หน่วยงานที่ขอรับทุน รวม 4 หน่วยงาน 6 โครงการ ดังนี้
  4.1 โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านต้นไทร ปีงบประมาณ 2568 เป็นเงิน 63,517 บาท
  4.2 โครงการรณรงค์ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านต้นไทร ปีงบประมาณ 2568 เป็นเงิน 43,400 บาท
  4.3 โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ปี 2568 โดย รพ.สต.บ้านนาโหนด เป็นเงิน 89,900 บาท
  4.4 โครงการป้องกันและควบคุมโรคไช้เลือดออก โดย ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านนาโหนด เป็นเงิน 35,525 บาท
  4.5 โครงการแก้ไขปัญเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด ประจำปี ๒๕๖๘ เป็นเงิน ๑๗,๖๘๘ บาท ต.นาโหนด
  4.6 โครงการป้องกันแก้ไขปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะ โรคไข้เลือดออกระบาด ตำบลนาโหนด ประจำปี ๒๕๖๘ เป็นเงิน ๑๕,๘๐๐ บาท

 

0 0

2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 1/2568 (ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2568)

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุม /จัดทำระเบียบวาระการประชุม/แจ้งหนังสือเชิญประชุม /ดำเนินการประชุม โดยกำหนดประชุมในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 2 สำนักงานเทศบาลตำบลนาโหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
คณะกรรมการเ และผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม จำนวน 22 คน
ผลลัพธ์
ที่ประชุม รับทราบ เห็นชอบ อนุมัติ เรื่องต่าง ๆ ดังนี้
1.1 รับทราบรายงานสถานการณ์เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.นาโหนด ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2568 1.2 รับทราบรายงานผลโครงการของหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน ในปี 2567 จำนวน 1 โครงการ (ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านนาโหนด) 1.3 รับทราบรายงานการประเมินตนเองการบริหารจัดการกองทุน กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2567 1.4 เห็นชอบปรับแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2568 1.5 เห็นชอบและอนุมัติงบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการของหน่วยงาน กลุ่ม องค์กรต่าง ๆ รวม 11 โครงการ ดังนี้
-โครงการ อย.น้อยรอบรู้ใส่ใจสุขภาพ งบประมาณ 10,000 บาท โดยชมรม อสม.รพ.สต.บ้านต้นไทร -โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 งบประมาณ 21,290 บาท โดยชมรม อสม.รพ.สต.บ้านต้นไทร โโ -โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยรับยาต่อเนื่องในหน่วยปฐมภูมิบ้านต้นไทร ปีงบประมาณ 2568 งบประมาณ 4,100 บาท โดยชมรมคลินิกเติมยา รพ.สต.บ้านต้นไทร
-โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (ด้วยทักษะการขยับกายวันละนิด) ป้องกันโรคข้อติด ปีงบประมาณ 2568 งบประมาณ 21,045 โดยชมมรมคลินิกเติมยา รพ.สต.บ้านต้นไทร
-โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ งบประมาณ 35,200 โดยชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านนาโหนด
-โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ หมู่ที่ 2 ต.นาโหนด งบประมาณ 9,800 บาท  โดยชมรมผู้สูงอายุ ม.2 ต.นาโหนด
-โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะในครัวเรือน งบประมาณ 42,000 บาท โดยชมรม อสม.รพ.สต.บ้านนาโหนด
-โครงการอาหารปลอดภัย งบประมาณ 14,00 บาท โดย ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านนาโหนด
-โครงการสนับสนุนผ้าอ้อมผู้ใหญ่ แผ่นรองซับการขับถ่าย และผ้าอ้อมทางเลือกตำบลนาโหนด ปี 2568 งบประมาณ 72,600 โดยศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผุ้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ทต.นาโหนด
-โครงการฝึกอบรมเสริมสร้างทักษะการว่ายน้ำให้แก่เด็ก อายุ 6-12 ปี ตำบลนาโหนด งบประมาณ 49,018 บาท  โดย เทศบาลตำบลนาโหนด
-โครงการแว่นสายตาเพื่อผู้สูงอายุ ตำบลนาโหนด ระยะที่ 2 งบประมาณ 108,524 โดยศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผุ้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ทต.นาโหนด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
49.50 90.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
16.00 18.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
9.00 12.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
4.00 7.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น
24.00 75.00

 

6 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
4.00 4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 35

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (5) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา (6) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การบริหารจัดการกองทุน (2) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุน (3) กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการ LTC (4) กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ (5) กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่ผู้ขอรับทุน (6) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ครั้งที่ 1/2568 (ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2568) (7) กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ ผู้ขอรับทุน และการจัดทำแผนกองทุน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาโหนด ประจำปี 2568 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3357-04-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิภาดา เต็มยอด กรรมการและเลขานุการกองทุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด