กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เด็กเด็กอายุ 0-ุ60 เดือน ผู้ปกครอง และผู้ดูแล ในชุมชน ตลอดจน อสม.ในพื้นที่ เข้าร่วมโครงการจำนวน 130 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก  ทาฟลูออไรด์วานิช และผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูก อสม.ในพื้นที่มีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้และฝึกการแปรงฟันแกผู้ปกครองเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้ รวมถึงชุมชนให้ความสำคัญและเล็งเห็นปัญหาโรคฟันผุของเด็กในชุมชน เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาร่วมกันในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กของเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
ตัวชี้วัด : เด็กของเด็กอายุ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ ๐ – ๖๐เดือน ได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็ก
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือน ได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็กไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

 

3 เพื่อเพิ่มคุณภาพของการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กได้ดี

 

4 เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : มีภาคีเครือข่ายสนับสนุนในการดำเนินโครงการ

 

5 สร้างกระแสงานทันตสาธารณสุขในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีชุมชนต้นแบบในการดำเนินงานทันตสาธารณสุข

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กของเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช (2) เพื่อให้ผู้ปกครองผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ ๐ – ๖๐เดือน ได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็ก (3) เพื่อเพิ่มคุณภาพของการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก (4) เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสาธารณสุข (5) สร้างกระแสงานทันตสาธารณสุขในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh