โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์ ”
ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางเสาวลี จันทร์งาม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์
ที่อยู่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L2975 เลขที่ข้อตกลง 35/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L2975 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขใช้การสร้างภูมิคุ้มกันเป็นกลวิธีและหลักสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้โดยใช้วัคซีนและบรรจุไว้ใต้แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มโรค โดยการให้วัคซีนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานเข้ากับการบริการสาธารณสุขตามระบบปกติ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ •-๕ ปี ตำบลโคกโพธิ์ และรณรงค์ให้ผู้ปกครองมีความรู้ มีทัศนคติในการนำบุตรหลานมารับวัคซีนและติดตามภาวะโภชนาการ พัฒนาการและ ทันตฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัจจุบันยังคงเกิดสถานการณ์ความไม่สงบใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่ง ต่อการดำเนินงานในเชิงรุกอันส่งผลให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และภาวะโภชนาการ พัฒนาการและทันตา ตรวจต้องให้ความครอบคลุมตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้หากไม่มีการดำเนินการที่เหมาะสมอาจส่งผลให้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และเด็กจะขาดสารอาหารมีพัฒนาการที่ล่าช้า ฟันผุ ทำให้มีแนวโน้มการเกิดโรคที่สามารถป้องได้มากยิ่งขึ้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกโพธิ์ เห็นความสำคัญในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการและทันตฯ ให้กับเด็กอายุ 0-๕ ปีแข็งแรง และจากการประเมินผลการเฝ้า
ระวังทางวัคซีน จำนวน๒๕๘คน ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ จำนวน๑๙๙ คน ได้ร้อยละ๗๗.๑๓ % ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์และ ภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน (-๕ ปี)
ในช่วงปีงบประมาณ๒๕๖๖ ที่ผ่านมาจะพบว่า มีเด็กทั้งหมด๒๕๘คนน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ๒๐ คนจากเด็กคิดเป็นร้อยละ พัฒนาการไม่สมตามวัยและฟันผุ ซึ่งพัฒนาการทางด้านร่างกายนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านสติปัญญาอารมณ์จิตใจและสังคมเด็กตามมา จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิตการแก้ไขปัญหาโดยการมีมุมส่งเสริมโภชนาการ พัฒนาการเด็ก ในสถานพยาบาลและการดำเนินงานแก้ไข ปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้หมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ดูแลเด็กและส่งเสริมให้ครอบครัวชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก จากสภาพปัญหาดังกล่าวจึงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกโพธิ์ ได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี (สมารท์คิด)เพื่อ ส่งเสริมให้เด็กไทยมีสุขภาพสมบูรณ์ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สูงดีสมส่วน พัฒนาการดีและฟันไม่ผุ และเป็นบันไดสู่ความสำเร็จของการมีสุขภาพดี เพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไข ปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้ให้เด็ก -๕ ปีได้รับวัคซีน ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและมีภาวะโภชนาการส่วนสูงระดับ ดีและรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการสมวัยและฟันไม่ผุ
๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก
๓. เพื่อให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ด้านโภชนาการ ที่ถูกต้อง
๔. ติดตามเยี่ยมเด็กที่มีน้ำหนักน้อยและขาดสารอาหาร
5.ติดตามเยี่ยมเด็กที่ไม่มารับบริการวัคซีนตามนัด
ตัวชี้วัด
๑. เด็กอายุ 0-๕ ปีได้รับวัคซีน ร้อยละ๘๐
๒. ไม่พบโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนในเด็กอายุ 0-๕ ปี
๓. เด็กอายุ0 -๕ ปี มีสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย
๔. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กที่อายุ-๕ ปีมารับบริการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์อายุเพิ่มมากขึ้น
๒. ในเด็กอายุ 0-๕ ปี ไม่พบอัตตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
๓. เด็กอายุ 0-๕ ปี มาครบตามเกณฑ์
๔. เด็กอายุ 0-๕ ปี ได้รับการเฝ้าระวังโภชนาการ มีพัฒนาการที่สมวัยตามเกณฑ์อายุเพิ่มมากขึ้น
๕. เด็กอายุ0 -๕ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบฟลูออไรด์ตามเกณฑ์อายุมากขึ้น
๖. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนมากขึ้น
๗.ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีน/ชั่งน้ำหนัก/ตรวจพัฒนาการ/ตรวจฟันเคลือบฟลูออไรด์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้ให้เด็ก -๕ ปีได้รับวัคซีน ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและมีภาวะโภชนาการส่วนสูงระดับ ดีและรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการสมวัยและฟันไม่ผุ
๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก
๓. เพื่อให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ด้านโภชนาการ ที่ถูกต้อง
๔. ติดตามเยี่ยมเด็กที่มีน้ำหนักน้อยและขาดสารอาหาร
5.ติดตามเยี่ยมเด็กที่ไม่มารับบริการวัคซีนตามนัด
ตัวชี้วัด
๑. เด็กอายุ 0-๕ ปีได้รับวัคซีน ร้อยละ๘๐
๒. ไม่พบโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนในเด็กอายุ 0-๕ ปี
๓. เด็กอายุ0 -๕ ปี มีสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย
๔. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้ให้เด็ก -๕ ปีได้รับวัคซีน ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและมีภาวะโภชนาการส่วนสูงระดับ ดีและรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการสมวัยและฟันไม่ผุ
๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก
๓. เพื่อให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ด้านโภชนาการ ที่ถูกต้อง
๔. ติดตามเยี่ยมเด็กที่มีน้ำหนักน้อยและขาดสารอาหาร
5.ติดตามเยี่ยมเด็กที่ไม่มารับบริการวัคซีนตามนัด
ตัวชี้วัด
๑. เด็กอายุ 0-๕ ปีได้รับวัคซีน ร้อยละ๘๐
๒. ไม่พบโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนในเด็กอายุ 0-๕ ปี
๓. เด็กอายุ0 -๕ ปี มีสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย
๔. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L2975
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเสาวลี จันทร์งาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์ ”
ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางเสาวลี จันทร์งาม
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L2975 เลขที่ข้อตกลง 35/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L2975 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขใช้การสร้างภูมิคุ้มกันเป็นกลวิธีและหลักสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้โดยใช้วัคซีนและบรรจุไว้ใต้แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มโรค โดยการให้วัคซีนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานเข้ากับการบริการสาธารณสุขตามระบบปกติ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ •-๕ ปี ตำบลโคกโพธิ์ และรณรงค์ให้ผู้ปกครองมีความรู้ มีทัศนคติในการนำบุตรหลานมารับวัคซีนและติดตามภาวะโภชนาการ พัฒนาการและ ทันตฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัจจุบันยังคงเกิดสถานการณ์ความไม่สงบใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่ง ต่อการดำเนินงานในเชิงรุกอันส่งผลให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และภาวะโภชนาการ พัฒนาการและทันตา ตรวจต้องให้ความครอบคลุมตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้หากไม่มีการดำเนินการที่เหมาะสมอาจส่งผลให้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และเด็กจะขาดสารอาหารมีพัฒนาการที่ล่าช้า ฟันผุ ทำให้มีแนวโน้มการเกิดโรคที่สามารถป้องได้มากยิ่งขึ้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกโพธิ์ เห็นความสำคัญในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการและทันตฯ ให้กับเด็กอายุ 0-๕ ปีแข็งแรง และจากการประเมินผลการเฝ้า ระวังทางวัคซีน จำนวน๒๕๘คน ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุ จำนวน๑๙๙ คน ได้ร้อยละ๗๗.๑๓ % ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์และ ภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน (-๕ ปี) ในช่วงปีงบประมาณ๒๕๖๖ ที่ผ่านมาจะพบว่า มีเด็กทั้งหมด๒๕๘คนน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ๒๐ คนจากเด็กคิดเป็นร้อยละ พัฒนาการไม่สมตามวัยและฟันผุ ซึ่งพัฒนาการทางด้านร่างกายนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านสติปัญญาอารมณ์จิตใจและสังคมเด็กตามมา จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิตการแก้ไขปัญหาโดยการมีมุมส่งเสริมโภชนาการ พัฒนาการเด็ก ในสถานพยาบาลและการดำเนินงานแก้ไข ปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้หมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ดูแลเด็กและส่งเสริมให้ครอบครัวชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก จากสภาพปัญหาดังกล่าวจึงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกโพธิ์ ได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี (สมารท์คิด)เพื่อ ส่งเสริมให้เด็กไทยมีสุขภาพสมบูรณ์ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน สูงดีสมส่วน พัฒนาการดีและฟันไม่ผุ และเป็นบันไดสู่ความสำเร็จของการมีสุขภาพดี เพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไข ปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้ให้เด็ก -๕ ปีได้รับวัคซีน ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและมีภาวะโภชนาการส่วนสูงระดับ ดีและรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการสมวัยและฟันไม่ผุ ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก ๓. เพื่อให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ด้านโภชนาการ ที่ถูกต้อง ๔. ติดตามเยี่ยมเด็กที่มีน้ำหนักน้อยและขาดสารอาหาร 5.ติดตามเยี่ยมเด็กที่ไม่มารับบริการวัคซีนตามนัด ตัวชี้วัด ๑. เด็กอายุ 0-๕ ปีได้รับวัคซีน ร้อยละ๘๐ ๒. ไม่พบโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนในเด็กอายุ 0-๕ ปี ๓. เด็กอายุ0 -๕ ปี มีสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย ๔. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กที่อายุ-๕ ปีมารับบริการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์อายุเพิ่มมากขึ้น ๒. ในเด็กอายุ 0-๕ ปี ไม่พบอัตตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ๓. เด็กอายุ 0-๕ ปี มาครบตามเกณฑ์ ๔. เด็กอายุ 0-๕ ปี ได้รับการเฝ้าระวังโภชนาการ มีพัฒนาการที่สมวัยตามเกณฑ์อายุเพิ่มมากขึ้น ๕. เด็กอายุ0 -๕ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบฟลูออไรด์ตามเกณฑ์อายุมากขึ้น ๖. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนมากขึ้น ๗.ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีน/ชั่งน้ำหนัก/ตรวจพัฒนาการ/ตรวจฟันเคลือบฟลูออไรด์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้ให้เด็ก -๕ ปีได้รับวัคซีน ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและมีภาวะโภชนาการส่วนสูงระดับ ดีและรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการสมวัยและฟันไม่ผุ
๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก
๓. เพื่อให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ด้านโภชนาการ ที่ถูกต้อง
๔. ติดตามเยี่ยมเด็กที่มีน้ำหนักน้อยและขาดสารอาหาร
5.ติดตามเยี่ยมเด็กที่ไม่มารับบริการวัคซีนตามนัด
ตัวชี้วัด
๑. เด็กอายุ 0-๕ ปีได้รับวัคซีน ร้อยละ๘๐
๒. ไม่พบโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนในเด็กอายุ 0-๕ ปี
๓. เด็กอายุ0 -๕ ปี มีสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย
๔. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้ให้เด็ก -๕ ปีได้รับวัคซีน ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและมีภาวะโภชนาการส่วนสูงระดับ ดีและรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการสมวัยและฟันไม่ผุ
๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก
๓. เพื่อให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ ด้านโภชนาการ ที่ถูกต้อง
๔. ติดตามเยี่ยมเด็กที่มีน้ำหนักน้อยและขาดสารอาหาร
5.ติดตามเยี่ยมเด็กที่ไม่มารับบริการวัคซีนตามนัด
ตัวชี้วัด
๑. เด็กอายุ 0-๕ ปีได้รับวัคซีน ร้อยละ๘๐
๒. ไม่พบโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนในเด็กอายุ 0-๕ ปี
๓. เด็กอายุ0 -๕ ปี มีสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย
๔. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กดี(สมารท์คิด)รพ.สต.โคกโพธิ์ ในเขตอบต.โคกโพธิ์ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L2975
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเสาวลี จันทร์งาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......