อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก(อถล.)ลดขยะใส่ใจสิ่งแวดล้อม
ชื่อโครงการ | อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก(อถล.)ลดขยะใส่ใจสิ่งแวดล้อม |
รหัสโครงการ | 67-L7575-02-25 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก |
วันที่อนุมัติ | 2 กันยายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 2 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 28,200.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นัดดา ภูมี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบว่าปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นของประเทศไทยปี พ.ศ. 2564 พบว่า เกิดขึ้นประมาณ 24.98 ล้านตันหรือประมาณ 68,434 ตันต่อวัน โดยมีอัตราการเกิดขยะมูลฝอย เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ปี พ.ศ.2564 (กรมการปกครอง) เท่ากับ1.03 กิโลกรัม/คน/วัน โดยมีแนวโน้มว่าปริมาณขยะมีเพิ่มสูงขึ้นทุกปีเนื่องจากจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น และพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป จากปัญหาขยะมูลฝอยของประเทศ รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย และได้ประกาศให้การจัดการขยะเป็นวาระแห่งชาติ และได้กำหนด Road Map การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย เพื่อให้เกิดการดำเนินงานในทิศทางเดียวกันและหนุนเสริมการดำเนินงานซึ่งกันและกัน ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ 1) เร่งการจัดการขยะมูลฝอยสะสมในสถานที่กำจัดขยะพื้นที่วิกฤติ 2) ให้มีรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อจัดการกับขยะที่เข้ามาใหม่ โดยเน้นการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางและแปรรูปพลังงานจากขยะ3) จัดระเบียบมาตรการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 4) การสร้างวินัยของคนในชาติมุ่งสู่การจัดการที่ยั่งยืน อย่างไรก็ตามการดำเนินงานของส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเรื่องดังกล่าว จะต้องได้รับความร่วมมือจากประชาชนอย่างเต็มที่ เริ่มจากการปลูกฝังจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อมในวัยเด็ก การเรียนรู้ จากการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและถ่ายทอดในระดับประชาชน เพื่อขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมบริหารจัดการขยะในพื้นที่ อาสามัครท้องถิ่นรักษ์โลก จึงมีความประสงค์จัดทำโครงการอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) ลดขยะใส่ใจสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างแกนนำและส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดำเนินงานด้านการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร และถูกต้องตามหลักวิชาการ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)มีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะแต่ละประเภทและการจัดการสิ่งแวดล้อม สามารถให้อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)มีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะแต่ละประเภทและการจัดการสิ่งแวดล้อม |
0.00 | |
2 | 2. เพื่อให้ อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)ประพฤติตนเป็นแบบอย่างในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การปกป้องสิ่งแวดล้อม สามารถให้ อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)ประพฤติตนเป็นแบบอย่างในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การปกป้องสิ่งแวดล้อม |
0.00 | |
3 | 3. เพื่อให้ อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) เข้าร่วมกิจกรรมได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ สามารถเพื่อให้ อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) เข้าร่วมกิจกรรมได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 28,200.00 | 0 | 0.00 | |
2 - 10 ก.ย. 67 | ขั้นที่1 .เตรียมงาน | 0 | 0.00 | - | ||
10 - 20 ก.ย. 67 | ขั้น 2 .ดำเนินการ | 0 | 28,200.00 | - | ||
20 - 30 ก.ย. 67 | ขั้นที่3. สรุปผล | 0 | 0.00 | - |
- อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) ประพฤติตนเป็นแบบอย่างในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูล ฝอย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
- อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) มีความรู้และถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนด้านการบริหารจัดการ สิ่งปฏิกูลและมูลฝอย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.ย. 2567 13:30 น.