กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางจาการขาดธาตุเหล็กในเด็กและหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางอรวรรณ เทพรักษ์




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางจาการขาดธาตุเหล็กในเด็กและหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 08/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางจาการขาดธาตุเหล็กในเด็กและหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางจาการขาดธาตุเหล็กในเด็กและหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางจาการขาดธาตุเหล็กในเด็กและหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก คือ ภาวะที่ร่างกายมีการขาดหรือพร่องธาตุเหล็กซึ่งทำให้มีปริมาณธาตุเหล็กไม่เพียงพอ ที่จะนำไปสร้างเม็ดเลือดแดงได้เป็นผลให้ร่างกายมีจำนวนเม็ดเลือดแดงหรือความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเลือดต่ำกว่าปกติ จะพบว่ามีอาการซีดของเล็บและเปลือกตาด้านในด้วย จากการสำรวจภาวะโภชนาการของเด็กไทยอายุ ๖ เดือน – ๑๒ ปี ระหว่างปีพ.ศ.2553-2555 ภายใต้โครงการ South East Asia Nutrition Survey (SENUTS) เด็กไทยกลุ่มปฐมวัยมีความชุกโลหิตจางสูงในเขตชนบทถึงร้อยละ 41.7 และเขตเมืองมีความชุกร้อยละ 26 โลหิตจางในเด็กมีสาเหตุหลักมาจาก 1) การรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่พียงพอในขณะที่ร่างกายเด็กกำลังเจริญเติบโตจึงต้องการธาตุเหล็กมากขึ้น และ 2) สาเหตุจากการเสียเลือด อาจเกิดเฉียบพลัน เช่น เลือดออกจากแผลอุบัติเหตุต่างๆ หรือจากเลือดออกเรื้อรัง เช่น พยาธิปากขอ มีแผลในกระเพาะอาหาร และการเสียเลือดจากประจำเดือนในเด็กหญิงวัยเจริญพันธุ์ เป็นต้น  ทั้งนี้ การขาด/พร่องธาตุเหล็กเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดที่ก่อให้เกิดโลหิตจางในเด็ก และเป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดของภาวะขาดสารอาหาร ธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบสำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ธาตุเหล็กมีมากในสมองเป็นส่วนประกอบของไม อีลินชีท นิวโรทรานสมิตเตอร์ และมีส่วนสำคัญในการป้องกันเชื้อโรค ดังนั้นการขาดธาตุเหล็กจึงส่งผลเสียต่อการทำงานด้านกายภาพ การสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการเจ็บป่วย และพัฒนาการของสมองของเด็กก่อนวัยเรียน โดนเฉพาะเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปีอีกทั้งส่งผลให้สูญเสียความสามารถในการเรียนรู้ตามศักยภาพอย่างถาวร ลดประสิทธิภาพในการเรียนของเด็กวัยเรียน และอาจมีความรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัยได้แนะนำให้จ่ายยาน้ำเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กอายุ 6 เดือน-5 ปี และยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กวัยเรียน อายุ 6-12 ปี และหญิงวัยเจริญพันธุ์ นอกจากนั้นยังแนะนำให้ตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจาง และคัดกรองเพิ่มเติมสำหรับวัยรุ่นหญิงที่เริ่มมีประจำเดือน ทั้งนี้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดเป็นสิทธิประโยชน์สำหรับกลุ่มวัยเด็กและเยาวชน และหญิงวัยเจริญพันธ์ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังไทร จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางที่เกิดจากธาตุเหล็กในเด็ก จะช่วยกระตุ้นการเข้าถึงบริการป้องกันโลหิตจางของเด็กปฐมวัยและเด็กโตให้ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการเจาะ HCT
  2. เพื่อให้เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการประเมินภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองภาวะซีด
  2. คัดกรองภาวะซีด เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการประเมินภาวะโลหิตจาง
  3. ติดตามกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะซีด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 165
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กอายุ 6-12 ปี และ หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการคัดกรอง HCT ครอบคลุม 100%
  2. เด็กอายุ 6-12 ปีและ หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการประเมินภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. คัดกรองภาวะซีด เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการประเมินภาวะโลหิตจาง

วันที่ 26 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมคัดกรองภาวะซีด เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการประเมินภาวะโลหิตจาง โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับอสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ทราบผลว่า ตนเองมีภาวะเสี่ยงต่อภาวะซีดหรือไม่ และได้รับการให้สุขศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค และคนที่เสี่ยงสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาได้อย่างรวดเร็ว

 

325 0

2. ติดตามกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะซีด

วันที่ 30 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะซีด ครั้งที่1 เจ้าหน้าที่ส่งจดหมายนัดติดตามกลุ่มที่มีภาวะซีดเพื่อเจาะเลือดหลังรับประทานยาธาตุเหล็กครบ 1 เดือน ครั้งที่ 2 การนัดหมายและการดูแลเช่นเดียวกับครั้งที่1 ในกลุ่มที่ยังพบภาวะซีด และครั้งที่ 3 นัดติดตามที่โรงพยาบาลในรายที่ยังมีภาวะซีดส่งพบแพทย์เพื่อวิเคราะห์ สาเหตุต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปีที่มีภาวะซีดได้รับประทานยาเสริมธาตุเหล็กอย่างสม่ำเสมอ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการเจาะ HCT
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการเจาะ HCT คลอบคลุม 100 %

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการประเมินภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการประเมินภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 325
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 165
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการเจาะ HCT (2) เพื่อให้เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการประเมินภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองภาวะซีด (2) คัดกรองภาวะซีด เด็กอายุ 6 เดือน – 12 ปีและหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 13 – 45 ปี ได้รับการประเมินภาวะโลหิตจาง (3) ติดตามกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะซีด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางจาการขาดธาตุเหล็กในเด็กและหญิงวัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรวรรณ เทพรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด