กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกัน Stoke ”
ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายทวีศักดิ์ สรรพโชค




ชื่อโครงการ โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกัน Stoke

ที่อยู่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกัน Stoke จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกัน Stoke



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกัน Stoke " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,272.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหลอดเลือดสมองที่พบบ่อยเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ข้อมูลจากกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขระบุว่า โรคหลอดเลือดสมองเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักของการเสียชีวิตและความพิการที่สำคัญทั้งโลกและมีแนวโน้มเพื่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั่วโลกพบว่า 1 ใน 4 ของประชากรที่มีอายุกว่า 25 ปีขึ้นไปเปโรคหลอดเลือดสมองร้อยละ 90 ของโรคหลอดเลือดสมองสามารถป้องกันได้ สำหรับประเทศไทยข้อมูลจากการรายงานสถิติสาธารณสุข ในปี 2566 ประเทศไทยพลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมากถึง 349122 ราย เสียชีวิต 36214 ราย เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่มีอายุน้อยกว่า 70 ปี กรมควบคุมโรคได้แนะนำวิธีป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ว่าโรคหลอดเลือดสมองสามารถป้องกันได้ ป้องกันไว้ดีกว่ารักษาเนื่องจากการรักษาที่ดีที่สุดคือการป้องกันไม่ให้เกิดดังนั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตเป็นวิธี ที่ดีที่สุดในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองทำได้โดยการควบคุมระดับความดันในโลหิตระดับน้ำตาลและระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพรสหวานมันเค็มมีกิจกรรมกายหรือออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมองดดื่มสุราหรือ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์งดบุหรี่งดการใช้สารเสพติดทุกชนิดหลีกเลี่ยงความเครียดพักผ่อนให้เพียงพอตรวจสุขภาพเป็นประจำอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง จากนั้นข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทับช้างมีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องผู้ป่วยหลายอะไรวะผู้ป่วย หลายราย ต้องมีการติดตามอาการอย่างใกล้ชิดและบางรายต้องการกายภาพบำบัดอย่างต่อเนื่องถ้ามีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอีกจากการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงพบว่าร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน cvd risk มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดในสมองกว่าร้อยละ 20 ทางชมรม อสม. รพ.สต.ทับช้าง จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจจึงได้จัดทำโครงการรู้เร็วรู้ทันป้องกัน stroke ขึ้นเพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับรู้ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจและรับการรักษาได้ทันเวลาตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นพื้นที่ได้รับการเข้าถึงโดยการที่มีคุณภาพและเพื่อลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจลดลดลงอันจะส่งผลให้ประชาชนในพื้นพื้นที่ รพ.สต.ทับช้าง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างเหมาะสมเหมาะสมซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนำไปสู่สุขภาพดีไม่เกิดความเจ็บป่วยด้วยโรควิถีชีวิตและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตรเองได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสียงได้รับรู้ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา
  3. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสียงได้รับรู้ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง 2.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับรู้ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหังใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา 3.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตรเองได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองอย่างถูกต้องหลังอบรม ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสียงได้รับรู้ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องอาการผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ สามารถประเมินได้เบื้องต้นได้ร้อยละ 80

     

    3 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสียงได้รับรู้ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา
    ตัวชี้วัด : มีผู้ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจลดน้อยลงจากปีที่มา

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตรเองได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสียงได้รับรู้ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา (3) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสียงได้รับรู้ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกัน Stoke จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายทวีศักดิ์ สรรพโชค )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด