กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 4, 5 และ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 4, 5 และ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2567 ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายสมคิด ทองศรี




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 4, 5 และ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 4, 5 และ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 4, 5 และ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 4, 5 และ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กันยายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,127.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังกลุ่มเมตาโบลิก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่ได้สัดส่วน และบริโภค ผัก ผลไม้ไม่พียงพอ ความเครียดเรื้อรัง การดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ เป็นต้น หากประชาชนที่มีความเสี่ยงหรือป่วย ไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัย และการักษาที่เหมาะสม อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน ทำให้พิการและเสียชีวิต เช่น โรคไตวาย ตาบอด โรคหลอดเลือดสมองตีบ และโรคหลอดเลือดสมองแตกได้
    จากข้อมูลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ พบว่า ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2566 พบว่า กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 97.70 และ 96.80 ตามลำดับ ได้รับการส่งต่อเพื่อให้ได้รับการตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์ ร้อยละ 30.83 และ 58.70 ตามลำดับ และได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคเบาหวาน(รายใหม่) ร้อยละ 18.58 และเป็นโรคความดันโลหิตสูง(รายใหม่) ร้อยละ 16.50 ซึ่งกลุ่มเสี่ยงส่วนใหญ่ได้รับการติดตามและส่งต่อล่าช้า เนื่องจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ มีเครื่องมือและอุปกรณ์ไม่เพียงพอที่จะสามารถดำเนินการติดตามและส่งต่อกลุ่มเสี่ยงเพื่อพบแพทย์ได้ตามกำหนดได้     เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรค อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ จึงจัดทำโครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 4, 5 และ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2567 ขึ้น เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับกลุ่มเป้าหมาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มที่มีความเสี่ยง และส่งต่อกลุ่มเสี่ยงพบแพทย์เพื่อได้รับการตรวจวินิจฉัยและได้รับการติดตามดูแลตามแนวทางการตรวจรักษาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. 3. เพื่อติดตามดูแล และส่งต่อกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้พบแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยตามแนวทางการตรวจรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นตอนการวางแผนการดำเนินงาน
  2. ขั้นตอนการดำเนินงานตามแผน
  3. 1.1 กิจกรรมย่อย : ประชุม อสม.เพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงานคัดกรองความเสี่ยง
  4. 2.2 กิจกรรมย่อย : พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
  5. 2.1 จัดหาวัสดุและอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ
  6. 2.3 ดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงและให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเสี่ยง
  7. 2.4 ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงเพื่อพบแพทย์และดูแลต่อเนื่อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 700
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง กลุ่มที่มีความเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีพฤติกรรมทีถูกต้องและเหมาะสม ได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องและส่งต่อเพื่อพบแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยที่ถูกต้องตามแนวทางการตรวจรักษา กลุ่มเสี่ยงดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข มีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคแทรกซ้อนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 97 ของกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองความเสี่ยง
97.00

 

2 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ที่ 2. ร้อยละ 90 ของกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
90.00

 

3 3. เพื่อติดตามดูแล และส่งต่อกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้พบแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยตามแนวทางการตรวจรักษา
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 80 ของกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ เพื่อการตรวจวินิจฉัยตามแนวทางการตรวจรักษา
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 700
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 700
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) 3. เพื่อติดตามดูแล และส่งต่อกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้พบแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยตามแนวทางการตรวจรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นตอนการวางแผนการดำเนินงาน (2) ขั้นตอนการดำเนินงานตามแผน (3) 1.1 กิจกรรมย่อย  : ประชุม อสม.เพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงานคัดกรองความเสี่ยง (4) 2.2 กิจกรรมย่อย : พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) (5) 2.1 จัดหาวัสดุและอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ (6) 2.3 ดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงและให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเสี่ยง (7) 2.4 ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงเพื่อพบแพทย์และดูแลต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 4, 5 และ หมู่ที่ 7 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมคิด ทองศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด