โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางภคปภา เพชรขวัญ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่
ตุลาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2567 ถึง 31 ตุลาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2567 - 31 ตุลาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคหลอดเลือดสมอง (STROKE) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศองค์การอัมพาตโลก (Word Stroke Organization : WSO) รายงานสาเหตุการตายจากโรคหลอดเลือดสมอง เป็นอันดับที่ 2 ของประชากรอายุมากกว่า 60 ปี ทั่วโลกและเป็นสาเหตุการตายอันดับ 5 ของประชากรอายุ 15-59 ปี และในแต่ละปีมีคนทั่วโลกเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง ประมาณ 6 ล้านคน ซึ่งมากกว่าคนทั่วโลกที่เสียชีวิตด้วยโรคเอดส์ วัณโรค และโรคมาลาเรียรวมกันทั้งนี้องค์การอัมพาตโลกคาดการณ์ว่าในปี 2569 คนทั่วโลกจะเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองมากถึง 6.5 ล้านคน โรคหลอดเลือดสมอง (STROKE) และโรคหลอดเลือดหัวใจเป็นโรคที่ประชาชนเริ่มเป็นกันมากขึ้นในเขต อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง และยังส่งผลต่อเนื่องกับร่องรอยของโรคถึงความพิการตามมาภายหลัง ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการแล้วแต่ไม่ทราบถึงอาการของโรค หรือนำส่งโรงพยาบาลช้าไม่ทันเวลา จึงส่งผลให้เกิดความพิการต่อเนื่องตามมา ทั้งนี้ยังมีแนวโน้มที่จะเกิดโรคนี้ ในประชาชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่องเรื่อย ๆ
ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จึงตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนและผู้ป่วยโรคเรื้อรังในหมู่บ้านได้มีความรู้ในการประเมินอาการเบื้องต้นของโรคหลอดเลือดสมอง และได้ทราบถึงความสำคัญของการส่งต่อผู้ป่วยที่เข้าข่ายโรคหลอดเลือดสมองไปยังโรงพยาบาลอย่างทันท่วงที และเพื่อลดอัตราการเกิดความพิการจากโรคหลอดเลือดสมองได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้และแนวปฏิบัติในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
- 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีองค์ความรู้ และสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของผู้ป่วยที่ตนเองพบเจอได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. จัดทำทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้องรัง และผู้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
- 2.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการเยี่ยม ติดตาม เฝ้าระวัง ดูแลสุขภาพ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- 3.จัดกิจกรรม ให้ความรู้เรื่อง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมอง แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื่อรัง เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของโรคหลอดเลือดสมองได้
- 4. กิจกรรมเยี่ยมบ้านติดตาม เฝ้าระวังภาวะหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ออกเยี่ยมบ้านสัปดาห์ละครั้ง เป็นเวลา 1 เดือน
- 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน วัดความดันโลหิตที่บ้านและก่อนพบแพทย์ทุกครั้ง
- ผู้ป่วยโรคเรื่อรังมีความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้และแนวปฏิบัติในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้และแนวปฏิบัติในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองร้อยละ 80
80.00
2
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีองค์ความรู้ และสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของผู้ป่วยที่ตนเองพบเจอได้
ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมอบรม มีองค์ความรู้ และสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของผู้ป่วยที่ตนเองพบเจอในได้ ร้อยละ 80
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้และแนวปฏิบัติในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (2) 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีองค์ความรู้ และสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของผู้ป่วยที่ตนเองพบเจอได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดทำทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้องรัง และผู้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (2) 2.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการเยี่ยม ติดตาม เฝ้าระวัง ดูแลสุขภาพ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) 3.จัดกิจกรรม ให้ความรู้เรื่อง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมอง แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื่อรัง เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของโรคหลอดเลือดสมองได้ (4) 4. กิจกรรมเยี่ยมบ้านติดตาม เฝ้าระวังภาวะหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ออกเยี่ยมบ้านสัปดาห์ละครั้ง เป็นเวลา 1 เดือน (5) 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางภคปภา เพชรขวัญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางภคปภา เพชรขวัญ
ตุลาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2567 ถึง 31 ตุลาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2567 - 31 ตุลาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคหลอดเลือดสมอง (STROKE) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศองค์การอัมพาตโลก (Word Stroke Organization : WSO) รายงานสาเหตุการตายจากโรคหลอดเลือดสมอง เป็นอันดับที่ 2 ของประชากรอายุมากกว่า 60 ปี ทั่วโลกและเป็นสาเหตุการตายอันดับ 5 ของประชากรอายุ 15-59 ปี และในแต่ละปีมีคนทั่วโลกเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง ประมาณ 6 ล้านคน ซึ่งมากกว่าคนทั่วโลกที่เสียชีวิตด้วยโรคเอดส์ วัณโรค และโรคมาลาเรียรวมกันทั้งนี้องค์การอัมพาตโลกคาดการณ์ว่าในปี 2569 คนทั่วโลกจะเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองมากถึง 6.5 ล้านคน โรคหลอดเลือดสมอง (STROKE) และโรคหลอดเลือดหัวใจเป็นโรคที่ประชาชนเริ่มเป็นกันมากขึ้นในเขต อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง และยังส่งผลต่อเนื่องกับร่องรอยของโรคถึงความพิการตามมาภายหลัง ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการแล้วแต่ไม่ทราบถึงอาการของโรค หรือนำส่งโรงพยาบาลช้าไม่ทันเวลา จึงส่งผลให้เกิดความพิการต่อเนื่องตามมา ทั้งนี้ยังมีแนวโน้มที่จะเกิดโรคนี้ ในประชาชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่องเรื่อย ๆ ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จึงตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนและผู้ป่วยโรคเรื้อรังในหมู่บ้านได้มีความรู้ในการประเมินอาการเบื้องต้นของโรคหลอดเลือดสมอง และได้ทราบถึงความสำคัญของการส่งต่อผู้ป่วยที่เข้าข่ายโรคหลอดเลือดสมองไปยังโรงพยาบาลอย่างทันท่วงที และเพื่อลดอัตราการเกิดความพิการจากโรคหลอดเลือดสมองได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้และแนวปฏิบัติในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
- 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีองค์ความรู้ และสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของผู้ป่วยที่ตนเองพบเจอได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. จัดทำทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้องรัง และผู้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
- 2.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการเยี่ยม ติดตาม เฝ้าระวัง ดูแลสุขภาพ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- 3.จัดกิจกรรม ให้ความรู้เรื่อง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมอง แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื่อรัง เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของโรคหลอดเลือดสมองได้
- 4. กิจกรรมเยี่ยมบ้านติดตาม เฝ้าระวังภาวะหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ออกเยี่ยมบ้านสัปดาห์ละครั้ง เป็นเวลา 1 เดือน
- 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 120 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน วัดความดันโลหิตที่บ้านและก่อนพบแพทย์ทุกครั้ง
- ผู้ป่วยโรคเรื่อรังมีความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้และแนวปฏิบัติในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้และแนวปฏิบัติในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองร้อยละ 80 |
80.00 |
|
||
2 | 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีองค์ความรู้ และสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของผู้ป่วยที่ตนเองพบเจอได้ ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมอบรม มีองค์ความรู้ และสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของผู้ป่วยที่ตนเองพบเจอในได้ ร้อยละ 80 |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 120 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้และแนวปฏิบัติในเรื่องการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (2) 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีองค์ความรู้ และสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของผู้ป่วยที่ตนเองพบเจอได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดทำทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้องรัง และผู้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (2) 2.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการเยี่ยม ติดตาม เฝ้าระวัง ดูแลสุขภาพ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) 3.จัดกิจกรรม ให้ความรู้เรื่อง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมอง แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื่อรัง เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถประเมินอาการเบื้องต้นของโรคหลอดเลือดสมองได้ (4) 4. กิจกรรมเยี่ยมบ้านติดตาม เฝ้าระวังภาวะหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ออกเยี่ยมบ้านสัปดาห์ละครั้ง เป็นเวลา 1 เดือน (5) 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ อสม.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2567 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางภคปภา เพชรขวัญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......