โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ”
ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางอนงค์ แดงปรก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก
ธันวาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ
ที่อยู่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3330-2- เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3330-2- ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2567 - 30 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมาจนถึงปัจจุบัน และมีการแพร่ระบาดของโรคอย่างกว้างขวางในจังหวัดพัทลุง ตั้งแต่ ๑ ม.ค. ๖๗ – ๒๔ ส.ค.๖๗ พบผู้ป่วยแล้ว ๑,๐๘๖ ราย เสียชีวิต ๑ ราย (ป่าพะยอม) อัตราป่วย ๕ อันดับแรกจำแนกเป็นอำเภอ ดังนี้ ๑. อำเภอกงหรา อัตราป่วย ๓๐๗.๒/แสนประชากร ๒. อำเภอตะโหมด อัตราป่วย ๒๘๐.๗/แสนประชากร ๓. อำเภอบางแก้ว อัตราป่วย ๒๗๑.๒/แสนประชากร ๔. อำเภอเขาชัยสน อัตราป่วย ๒๑๕.๙/แสนประชากร ๕. อำเภอปากพะยูน อัตราป่วย ๒๐๙.๐/แสนประชากร อำเภอบางแก้ว ตั้งแต่ ๑ ม.ค. ๖๗ – ๓๐ ส.ค.๖๗ พบผู้ป่วยแล้ว ๕๘ ราย แยกเป็นรายตำบลดังนี้ อันดับที่๑ ตำบลโคกสัก ๒๔ ราย (๒๗๐.๗๖ ต่อแสนประชากร) อันดับ๒ ตำบลนาปะขอ ๒๐ ราย(๑๙๔.๘๙ ต่อแสนประชากร) และอันดับ๓ ตำบลท่ามะเดื่อ ๑๔ ราย(๑๙๒.๔๙ ต่อแสนประชากร) โดยเฉพาะในเดือน สิงหาคม ๒๕๖๗ พบผู้ป่วยในตำบลโคกสัก ๙ ราย ตำบลนาปะขอ ๔ ราย และตำบลท่ามะเดื่อ ๓ ราย แยกเป็นรายสถานบริการตั้งแต่ต้นปี ๑.รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ๑๕ ราย ๒.รพ.บางแก้วและรพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า แห่งละ ๑๔ ราย ๓.รพ.สต.บ้านลอน และเกาะเคียน แห่งละ ๖ ราย และ๔.รพ.สต.บ้านต้นสน ๓ ราย และจากการวิเคราะห์อำเภอบางแก้ว จัดเป็นอำเภอระบาดตามเกณฑ์ และตำบลโคกสัก จัดเป็นตำบลที่เป็นพื้นที่ระบาดแล้ว เพราะเป็นตำบลที่มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเกินกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปี ย้อนหลังในช่วง ๔ สัปดาห์ล่าสุด และ มีการระบาดต่อเนื่องมากกว่า ๒๘ วัน (พบผู้ป่วยรายใหม่ต่อเนื่องกันโดยวันที่พบผู้ป่วย (วันที่วินิจฉัยสงสัยไข้เลือดออก) ของผู้ป่วยแต่ละรายทิ้งระยะกันไม่เกิน ๒๘ วัน และยังควบคุมโรคไม่ได้) ปัญหานี้ไม่อาจแก้ไขได้ด้วยหน่วยงานใดหน่วยงานเดียวเพราะเกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของทุกภาคส่วนที่จะหาแนวทางเพื่อควบคุมลูกน้ำ กำจัดยุงตัวแก่ทั้งในวิธีกายภาพ ชีวภาพและเคมี
เพื่อให้การดำเนินงานป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกของชุมชนในความรับผิดชอบของชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านทุกคนต้องมีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ และเหมาะสมกับชุมชนพร้อมที่จะนำไปใช้ในการออกปฏิบัติงานควบคุม และป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกเบื้องต้นได้ทันท่วงทีภายใน ๓ ชั่วโมงก่อน หลังจากได้รับรายงาน ซึ่งสามารถที่จะปฏิบัติงานได้ทั้งในและนอกเวลาราชการ ในการนี้ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. กิจกรรม ออกปฏิบัติงานกำจัดยุงตัวแก่ซึ่งสงสัยมีเชื้อไข้เลือดออกในบ้านผู้ป่วย และบ้านข้างเคียงทันที เพื่อควบคุมการการระบาดของโรคเบื้องต้น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2250
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. กิจกรรม ออกปฏิบัติงานกำจัดยุงตัวแก่ซึ่งสงสัยมีเชื้อไข้เลือดออกในบ้านผู้ป่วย และบ้านข้างเคียงทันที เพื่อควบคุมการการระบาดของโรคเบื้องต้น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3330-2-
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอนงค์ แดงปรก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ”
ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางอนงค์ แดงปรก
ธันวาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3330-2- เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3330-2- ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2567 - 30 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมาจนถึงปัจจุบัน และมีการแพร่ระบาดของโรคอย่างกว้างขวางในจังหวัดพัทลุง ตั้งแต่ ๑ ม.ค. ๖๗ – ๒๔ ส.ค.๖๗ พบผู้ป่วยแล้ว ๑,๐๘๖ ราย เสียชีวิต ๑ ราย (ป่าพะยอม) อัตราป่วย ๕ อันดับแรกจำแนกเป็นอำเภอ ดังนี้ ๑. อำเภอกงหรา อัตราป่วย ๓๐๗.๒/แสนประชากร ๒. อำเภอตะโหมด อัตราป่วย ๒๘๐.๗/แสนประชากร ๓. อำเภอบางแก้ว อัตราป่วย ๒๗๑.๒/แสนประชากร ๔. อำเภอเขาชัยสน อัตราป่วย ๒๑๕.๙/แสนประชากร ๕. อำเภอปากพะยูน อัตราป่วย ๒๐๙.๐/แสนประชากร อำเภอบางแก้ว ตั้งแต่ ๑ ม.ค. ๖๗ – ๓๐ ส.ค.๖๗ พบผู้ป่วยแล้ว ๕๘ ราย แยกเป็นรายตำบลดังนี้ อันดับที่๑ ตำบลโคกสัก ๒๔ ราย (๒๗๐.๗๖ ต่อแสนประชากร) อันดับ๒ ตำบลนาปะขอ ๒๐ ราย(๑๙๔.๘๙ ต่อแสนประชากร) และอันดับ๓ ตำบลท่ามะเดื่อ ๑๔ ราย(๑๙๒.๔๙ ต่อแสนประชากร) โดยเฉพาะในเดือน สิงหาคม ๒๕๖๗ พบผู้ป่วยในตำบลโคกสัก ๙ ราย ตำบลนาปะขอ ๔ ราย และตำบลท่ามะเดื่อ ๓ ราย แยกเป็นรายสถานบริการตั้งแต่ต้นปี ๑.รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ๑๕ ราย ๒.รพ.บางแก้วและรพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า แห่งละ ๑๔ ราย ๓.รพ.สต.บ้านลอน และเกาะเคียน แห่งละ ๖ ราย และ๔.รพ.สต.บ้านต้นสน ๓ ราย และจากการวิเคราะห์อำเภอบางแก้ว จัดเป็นอำเภอระบาดตามเกณฑ์ และตำบลโคกสัก จัดเป็นตำบลที่เป็นพื้นที่ระบาดแล้ว เพราะเป็นตำบลที่มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเกินกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปี ย้อนหลังในช่วง ๔ สัปดาห์ล่าสุด และ มีการระบาดต่อเนื่องมากกว่า ๒๘ วัน (พบผู้ป่วยรายใหม่ต่อเนื่องกันโดยวันที่พบผู้ป่วย (วันที่วินิจฉัยสงสัยไข้เลือดออก) ของผู้ป่วยแต่ละรายทิ้งระยะกันไม่เกิน ๒๘ วัน และยังควบคุมโรคไม่ได้) ปัญหานี้ไม่อาจแก้ไขได้ด้วยหน่วยงานใดหน่วยงานเดียวเพราะเกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของทุกภาคส่วนที่จะหาแนวทางเพื่อควบคุมลูกน้ำ กำจัดยุงตัวแก่ทั้งในวิธีกายภาพ ชีวภาพและเคมี
เพื่อให้การดำเนินงานป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกของชุมชนในความรับผิดชอบของชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านทุกคนต้องมีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ และเหมาะสมกับชุมชนพร้อมที่จะนำไปใช้ในการออกปฏิบัติงานควบคุม และป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกเบื้องต้นได้ทันท่วงทีภายใน ๓ ชั่วโมงก่อน หลังจากได้รับรายงาน ซึ่งสามารถที่จะปฏิบัติงานได้ทั้งในและนอกเวลาราชการ ในการนี้ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. กิจกรรม ออกปฏิบัติงานกำจัดยุงตัวแก่ซึ่งสงสัยมีเชื้อไข้เลือดออกในบ้านผู้ป่วย และบ้านข้างเคียงทันที เพื่อควบคุมการการระบาดของโรคเบื้องต้น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,250 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2250 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,250 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. กิจกรรม ออกปฏิบัติงานกำจัดยุงตัวแก่ซึ่งสงสัยมีเชื้อไข้เลือดออกในบ้านผู้ป่วย และบ้านข้างเคียงทันที เพื่อควบคุมการการระบาดของโรคเบื้องต้น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3330-2-
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอนงค์ แดงปรก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......