โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสมฤทัย มะนะโส
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568-L6896-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 186,712.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) เป็นแนวโน้มที่ทุกชาติทั่วโลกหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยองค์การสหประชาชาติคาดการณ์ไว้ว่าทั่วโลกจะมีประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ถึง 1,200 ล้านคนในปี พ.ศ. 2568 และ 2,000 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2593 หรือคิดเป็นร้อยละ 20 ของประชากรโลกทั้งหมด สำหรับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2563 มีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 18.24 ของประชากรทั้งประเทศ และมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 3.6 ต่อปี
(คิดเป็น 400,000 คนต่อปี) ซึ่งตามการคาดประมาณการประชากรประเทศไทยของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562) คาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2566 จะมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 20.66 ของประชากรทั้งประเทศ และในปี พ.ศ. 2578 จะมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 28.55 ของประชากรทั้งประเทศ การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของผู้สูงอายุ จำนวนวัยทำงาน และวัยเด็กแรกเกิดลดลงย่อมส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทย
จากข้อมูลสถิติประชากรงานทะเบียนราษฎร์ เทศบาลนครตรัง ณ เดือนกรกฎาคม 2567 พบว่ามีประชากร ในพื้นที่เขตเทศบาลนครตรัง ทั้งหมด 54,344.คน โดยมีกลุ่มประชากรที่มากที่สุดแบ่งเป็น 3 อันดับดังนี้ อันดับหนึ่ง ได้แก่ กลุ่มวัยผู้ใหญ่ ร้อยละ 52.63 อันดับสอง กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ร้อยละ 22.23 อันดับสาม กลุ่มวัยรุ่น ร้อยละ 18.09 ซึ่งขณะนี้เทศบาลนครตรังได้เข้าสู่การเป็น“สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์”เป็นที่เรียบร้อยแล้ว.และคาดการณ์ว่าในปี 2572 เทศบาลนครตรังจะเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super-Aged Society) มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.44
เทศบาลนครตรังตระหนักและให้ความสำคัญกับการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม โดยมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่ม ซึ่งนโยบายสำคัญคือ การทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง ชะลอการเกิดโรค และความเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปัญหาเรื่องสายตาที่เกิดขึ้นในผู้สูงอายุก็เป็นปัญหาหนึ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดวงตาเริ่มเสื่อมตามอายุตั้งแต่วัยผู้ใหญ่อายุ 40 ปีขึ้นไป ยิ่งอายุมากขึ้นจะพบความเสื่อมและโรคตาได้มากตามวัย จึงควรระวังใส่ใจรักษาสุขภาพตา เพื่อป้องกันไม่ให้สุขภาพดวงตาเสื่อมโทรมจนเสี่ยงต่อการเกิดโรคตาชนิดต่างๆ ทั้งที่มีระดับความรุนแรงน้อย ไปจนถึงระดับความรุนแรงมากที่อาจนำไปสู่การตาบอด
งานดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ตระหนักและให้ความสำคัญกับการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม โดยเทศบาลนครตรังมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่ม ซึ่งนโยบายสำคัญคือ การทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง ชะลอการเกิดโรค และความเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ในปี งบประมาณ 2567 ได้ดำเนินกิจกรรมตามโครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาและสุขภาพผู้สูงอายุ มีผู้สูงอายุผ่านการคัดกรองความบกพร่องทางการมองเห็น และเข้าร่วมการวัดสายตา จำนวน 452 คนพบสงสัยโรคทางตามากที่สุด ตามลำดับดังนี้ 1.สงสัยต้อลม จำนวน 257 คน 2.สงสัยต้อเนื้อ จำนวน 56 คน 3.สงสัยต้อลมและต้อกระจก จำนวน 45 คน 4.จอตาเสื่อมตามวัย จำนวน 38 คน 5.สงสัยต้อลมและต้อเนื้อ จำนวน 20 คน 6.สงสัยต้อกระจก จำนวน 18 คน 7.สงสัยต้อเนื้อและต้อกระจก จำนวน 10 คน 8.สงสัยต้อลมและต้อหิน จำนวน 4 คน 9.ต้อหิน จำนวน 2 คน 10.สงสัยต้อลม ต้อเนื้อลม และต้อกระจก จำนวน 1 คน 11. ไม่พบอาการผิดปกติ จำนวน 1 คน ได้ดำเนินการส่งต่อผู้ป่วยพบแพทย์เรื่องต้อกระจก จำนวน 5 ราย ผู้สูงอายุได้รับการพิจารณาตัดแว่นสายตายาว จำนวน 337 คน ผู้สูงอายุได้รับการพิจารณาตัดแว่นสายตาสั้น/เอียง จำนวน 115 คน
จากข้อมูลข้างต้นพบว่าผู้สูงอายุที่อาศัยในพื้นที่เทศบาลนครตรัง มีความผิดปกติทางด้านดวงตา และสายตาเป็นจำนวนมาก สำหรับสายตาและการมองเห็นถือเป็นเรื่องสำคัญของบุคคล โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ หากผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองการมองเห็น การตรวจหาความผิดปกติของการมองเห็น หรือคัดกรองพบโรคทางดวงตา สามารถช่วยให้ผู้สูงอายุได้รับการแก้ไขปัญหา และได้รับการส่งต่อพบแพทย์โดยเร็ว ช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพ และช่วยให้การดำรงชีวิตของผู้สูงอายุดีขึ้น ร่วมกับการมีนโยบายขับเคลื่อนการมอบของขวัญปีใหม่แก่ผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งกำหนดให้ ปี 2566 เป็นปีแห่งสุขภาพสูงวัยไทย และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้รับนโยบาย เพื่อร่วมขับเคลื่อนบริการแว่นตาสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าวเป็นไปตามนโยบาย ผู้จัดโครงการเสนอขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการตรวจคัดกรองสายตา และแก้ไขปัญหาสายตากลุ่มผู้สูงอายุที่พบปัญหาสายตา
- ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินโครงการฯ และการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์จุดการให้บริการ และการส่งเสริมความรู้เรื่องสุขภาพฯ
- ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินโครงการฯ และการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์จุดการให้บริการ และการส่งเสริมความรู้เรื่องสุขภาพฯ
- กิจกรรมการตรวจคัดกรองสายตา และแก้ไขปัญหาสายตากลุ่มผู้สูงอายุที่พบปัญหาสายตา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสายตา
- ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองสายตาแล้วพบความผิดปกติที่เกี่ยวกับสายตา ได้รับการแก้ไขด้วยแว่นสายตา
- ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองสายตาแล้วพบความผิดปกติที่เกี่ยวกับโรคของดวงตาได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์เฉพาะทางโดยเร็ว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการตรวจคัดกรองสายตา และแก้ไขปัญหาสายตากลุ่มผู้สูงอายุที่พบปัญหาสายตา (2) ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินโครงการฯ และการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์จุดการให้บริการ และการส่งเสริมความรู้เรื่องสุขภาพฯ (3) ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินโครงการฯ และการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์จุดการให้บริการ และการส่งเสริมความรู้เรื่องสุขภาพฯ (4) กิจกรรมการตรวจคัดกรองสายตา และแก้ไขปัญหาสายตากลุ่มผู้สูงอายุที่พบปัญหาสายตา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสมฤทัย มะนะโส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสมฤทัย มะนะโส
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568-L6896-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 186,712.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) เป็นแนวโน้มที่ทุกชาติทั่วโลกหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยองค์การสหประชาชาติคาดการณ์ไว้ว่าทั่วโลกจะมีประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ถึง 1,200 ล้านคนในปี พ.ศ. 2568 และ 2,000 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2593 หรือคิดเป็นร้อยละ 20 ของประชากรโลกทั้งหมด สำหรับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2563 มีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 18.24 ของประชากรทั้งประเทศ และมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 3.6 ต่อปี
(คิดเป็น 400,000 คนต่อปี) ซึ่งตามการคาดประมาณการประชากรประเทศไทยของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562) คาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2566 จะมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 20.66 ของประชากรทั้งประเทศ และในปี พ.ศ. 2578 จะมีประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 28.55 ของประชากรทั้งประเทศ การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของผู้สูงอายุ จำนวนวัยทำงาน และวัยเด็กแรกเกิดลดลงย่อมส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทย
จากข้อมูลสถิติประชากรงานทะเบียนราษฎร์ เทศบาลนครตรัง ณ เดือนกรกฎาคม 2567 พบว่ามีประชากร ในพื้นที่เขตเทศบาลนครตรัง ทั้งหมด 54,344.คน โดยมีกลุ่มประชากรที่มากที่สุดแบ่งเป็น 3 อันดับดังนี้ อันดับหนึ่ง ได้แก่ กลุ่มวัยผู้ใหญ่ ร้อยละ 52.63 อันดับสอง กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ร้อยละ 22.23 อันดับสาม กลุ่มวัยรุ่น ร้อยละ 18.09 ซึ่งขณะนี้เทศบาลนครตรังได้เข้าสู่การเป็น“สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์”เป็นที่เรียบร้อยแล้ว.และคาดการณ์ว่าในปี 2572 เทศบาลนครตรังจะเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super-Aged Society) มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.44
เทศบาลนครตรังตระหนักและให้ความสำคัญกับการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม โดยมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่ม ซึ่งนโยบายสำคัญคือ การทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง ชะลอการเกิดโรค และความเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปัญหาเรื่องสายตาที่เกิดขึ้นในผู้สูงอายุก็เป็นปัญหาหนึ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดวงตาเริ่มเสื่อมตามอายุตั้งแต่วัยผู้ใหญ่อายุ 40 ปีขึ้นไป ยิ่งอายุมากขึ้นจะพบความเสื่อมและโรคตาได้มากตามวัย จึงควรระวังใส่ใจรักษาสุขภาพตา เพื่อป้องกันไม่ให้สุขภาพดวงตาเสื่อมโทรมจนเสี่ยงต่อการเกิดโรคตาชนิดต่างๆ ทั้งที่มีระดับความรุนแรงน้อย ไปจนถึงระดับความรุนแรงมากที่อาจนำไปสู่การตาบอด
งานดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ตระหนักและให้ความสำคัญกับการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม โดยเทศบาลนครตรังมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่ม ซึ่งนโยบายสำคัญคือ การทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง ชะลอการเกิดโรค และความเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ในปี งบประมาณ 2567 ได้ดำเนินกิจกรรมตามโครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาและสุขภาพผู้สูงอายุ มีผู้สูงอายุผ่านการคัดกรองความบกพร่องทางการมองเห็น และเข้าร่วมการวัดสายตา จำนวน 452 คนพบสงสัยโรคทางตามากที่สุด ตามลำดับดังนี้ 1.สงสัยต้อลม จำนวน 257 คน 2.สงสัยต้อเนื้อ จำนวน 56 คน 3.สงสัยต้อลมและต้อกระจก จำนวน 45 คน 4.จอตาเสื่อมตามวัย จำนวน 38 คน 5.สงสัยต้อลมและต้อเนื้อ จำนวน 20 คน 6.สงสัยต้อกระจก จำนวน 18 คน 7.สงสัยต้อเนื้อและต้อกระจก จำนวน 10 คน 8.สงสัยต้อลมและต้อหิน จำนวน 4 คน 9.ต้อหิน จำนวน 2 คน 10.สงสัยต้อลม ต้อเนื้อลม และต้อกระจก จำนวน 1 คน 11. ไม่พบอาการผิดปกติ จำนวน 1 คน ได้ดำเนินการส่งต่อผู้ป่วยพบแพทย์เรื่องต้อกระจก จำนวน 5 ราย ผู้สูงอายุได้รับการพิจารณาตัดแว่นสายตายาว จำนวน 337 คน ผู้สูงอายุได้รับการพิจารณาตัดแว่นสายตาสั้น/เอียง จำนวน 115 คน
จากข้อมูลข้างต้นพบว่าผู้สูงอายุที่อาศัยในพื้นที่เทศบาลนครตรัง มีความผิดปกติทางด้านดวงตา และสายตาเป็นจำนวนมาก สำหรับสายตาและการมองเห็นถือเป็นเรื่องสำคัญของบุคคล โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ หากผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองการมองเห็น การตรวจหาความผิดปกติของการมองเห็น หรือคัดกรองพบโรคทางดวงตา สามารถช่วยให้ผู้สูงอายุได้รับการแก้ไขปัญหา และได้รับการส่งต่อพบแพทย์โดยเร็ว ช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพ และช่วยให้การดำรงชีวิตของผู้สูงอายุดีขึ้น ร่วมกับการมีนโยบายขับเคลื่อนการมอบของขวัญปีใหม่แก่ผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งกำหนดให้ ปี 2566 เป็นปีแห่งสุขภาพสูงวัยไทย และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้รับนโยบาย เพื่อร่วมขับเคลื่อนบริการแว่นตาสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าวเป็นไปตามนโยบาย ผู้จัดโครงการเสนอขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการตรวจคัดกรองสายตา และแก้ไขปัญหาสายตากลุ่มผู้สูงอายุที่พบปัญหาสายตา
- ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินโครงการฯ และการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์จุดการให้บริการ และการส่งเสริมความรู้เรื่องสุขภาพฯ
- ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินโครงการฯ และการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์จุดการให้บริการ และการส่งเสริมความรู้เรื่องสุขภาพฯ
- กิจกรรมการตรวจคัดกรองสายตา และแก้ไขปัญหาสายตากลุ่มผู้สูงอายุที่พบปัญหาสายตา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสายตา
- ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองสายตาแล้วพบความผิดปกติที่เกี่ยวกับสายตา ได้รับการแก้ไขด้วยแว่นสายตา
- ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองสายตาแล้วพบความผิดปกติที่เกี่ยวกับโรคของดวงตาได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์เฉพาะทางโดยเร็ว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการตรวจคัดกรองสายตา และแก้ไขปัญหาสายตากลุ่มผู้สูงอายุที่พบปัญหาสายตา (2) ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินโครงการฯ และการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์จุดการให้บริการ และการส่งเสริมความรู้เรื่องสุขภาพฯ (3) ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินโครงการฯ และการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์จุดการให้บริการ และการส่งเสริมความรู้เรื่องสุขภาพฯ (4) กิจกรรมการตรวจคัดกรองสายตา และแก้ไขปัญหาสายตากลุ่มผู้สูงอายุที่พบปัญหาสายตา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการนครตรังรณรงค์คัดกรองสายตาผู้สูงอายุ ปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสมฤทัย มะนะโส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......