กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
สร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า 1 ต.ค. 2567

 

 

 

 

 

การอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance.care planning) ปี2568 1 ต.ค. 2567

 

 

 

 

 

สร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องการวางแผนการดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า 1 ต.ค. 2567 1 ต.ค. 2567

 

สำหรับขั้นตอนการดำเนินงาน เริ่มแรกมีการประชุมคณะทำงานและทีมวิทยากร ในการกำหนดเนื้อหาการจัดอบรมและรูปแบบการอบรม และกำหนดหลักเกณฑ์และคุณสมบัติการคัดเลือกแกนนำเข้ารับการอบรม อาทิเช่น ผู้มีความสนใจในการอบรมและสามารถถ่ายทอดได้ สามารถเข้าอบรมได้ครบ 3 วัน เป็นต้น

 

แกนนำสามารถถ่ายทอดความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนได้ ซึ่งจากการดำเนินโครงการ ร้อยละ 100 ของแกนนำอาสา สามารถถ่ายทอดความรู้การวางแผนการดูแลสุขภาพล่วงหน้าในชุมชนได้ จำนวน 144 ราย และกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง เข้าร่วมการวางแผนการดูแลสุขภาพล่วงหน้า จำนวน 144 ราย พบว่ารอตัดสินใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 51.39 รองลงมาไม่ทำแผนการดูแลล่วงหน้า คิดเป็นร้อยละ 40.98 และทำแผนล่วงหน้า คิดเป็นร้อยละ 7.63

 

การอบรมแกนนำอาสานักฟัง เพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย (Advance.care planning) ปี2568 1 ต.ค. 2567 1 ต.ค. 2567

 

ขั้นตอนการดำเนิน มีการประชาสัมพันธ์โครงการฯ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และประสานข้อมูลผ่านผู้นำชุมชน,อาสาสมัครสาธารณสุข,สมาชิกเทศบาลนครตรัง และแกนนำชุมชนในการรับสมัครอบรม มีการแต่งตั้งคณะทำงาน และประชุมคณะทำงาน เพื่อเตรียมความพร้อมในด้านเอกสารประกอบการเรียนรู้ สถานที่ อาหารและเครื่องดื่ม ค่าวิทยากร ที่พักวิทยากร ค่าเดินทางของวิทยากร และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง มีการจัดอบรมตามกำหนดการ และสรุปผลการถอดบทเรียน และนำไปขยายผลในชุมชน

 

ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองล่วงหน้า ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ ความเข้าใจ การวางแผนการดูแลตนเองล่วงหน้า จากแกนนำอาสาเพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะท้าย