โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวชญาภา ขันทกะพันธ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-01-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568-L6896-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 115,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะหัวใจหยุดเต้นและหรือหยุดหายใจเฉียบพลัน (Sudden Cardiac Arrest: CA) เป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ มีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือจากโรคหัวใจขาดเลือด (Cardiac Cause) จากการมีโรคหัวใจอยู่เดิมซึ่งมักพบในผู้ป่วยที่อายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป มักพบว่ามีหัวใจเต้นผิดปกติชนิดที่สั่นพลิ้วไม่มีแรงบีบตัวเพื่อให้เลือดออกจากหัวใจ (Ventricular Fibrillation: VF) สาเหตุที่ 2 คือ การขาดออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายจากอุบัติเหตุต่างๆมักเกิดเหตุนอกโรงพยาบาล (Out-of-Hospital Cardiac Arrests: OHCA) เช่นใน ปี พ.ศ.2557 ในอเมริกา มีผู้ป่วยภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันนอกโรงพยาบาล จำนวน 424,000 คน มีอัตราการเสียชีวิตทั้งนอกและในโรงพยาบาล จากกล้ามเนื้อหัวใจตาย ประมาณร้อยละ 50 ในประเทศไทย มีผู้ป่วย OHCA โดยประมาณคือ 0.5-1.0 ต่อ 1,000 รายต่อปี เสียชีวิตจากโรคหัวใจขาดเลือดและอุบัติเหตุจราจร และคาดการณ์ได้ว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจเพิ่มขึ้น โดยพบอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจเพิ่มขึ้นในช่วงเวลาเดียวกัน จาก 20.25 คนต่อแสนประชากร เป็น 27.83 คนต่อแสนประชากร ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันมีโอกาสเสียชีวิตในไม่กี่นาทีภายหลังหัวใจหยุดเต้น การเริ่มกดนวดหน้าอกโดยเร็ว มีผลต่อการกลับมาเต้นของหัวใจ ผู้พบเห็นคนแรกที่เริ่มทำการฟื้นคืนชีพเร็ว มีความสัมพันธ์ กับอัตรารอดชีวิตที่เพิ่มขึ้น ตามหลักการห่วงโซ่ของการอยู่รอด (.Chain.of.Survival.).ปี พ.ศ.2558.สมาคมโรคหัวใจ แห่งอเมริกา (American Heart Association: AHA) ให้ข้อเสนอแนะว่าบุคคลแรกที่ไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์ (Bystander) ที่พบเห็นเหตุการณ์ มีบทบาทสำคัญใน 3.ห่วงแรกของการช่วยชีวิต คือ 1).เมื่อพบผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นโทรแจ้งหน่วยฉุกเฉินทันที 2).เริ่มกดนวดหน้าอก (Chest Compression) ให้เร็วภายในเวลา.4.นาที และ 3) กระตุ้นหัวใจด้วยเครื่องไฟฟ้าแต่พบว่าผู้ป่วย OHCA.ได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพโดยผู้พบเห็นคนแรกค่อนข้างน้อย อัตราการรอดชีวิตจนออกจากโรงพยาบาลค่อนข้างต่ำ คือประมาณร้อยละ 7.6-7.9 เท่านั้น การให้คำแนะนำการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานจึงมีความสำคัญมากเนื่องจากช่วยเพิ่มจำนวนการช่วยฟื้นคืนชีพจากผู้พบเห็นคนแรกทำให้เริ่มการกดนวดหน้าอกครั้งแรกเร็วขึ้น นำไปสู่การมีชีวิตรอดที่เพิ่มขึ้น
จากการที่เทศบาลนครตรังมีครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์หรือการแพทย์เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ และจากการสนับสนุนเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ จากหน่วยงานอื่นๆ ที่มาติดตั้งในพื้นที่สาธารณะ ในเขตเทศบาลนครตรัง ซึ่งมีประชาชนมาใช้บริการในสถานที่สาธารณะเป็นจำนวนมาก ได้แก่ สนามกีฬาเทศบาลนครตรัง,ชมรมเทนนิสเทศบาลนครตรัง(สนามกีฬาทุ่งแจ้ง), สวนสาธารณะสมเด็จพระศรีนครินทร์ 95 (เขาแปะช้อย), อนุสาวรีย์พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี และสวนสาธารณะสระกะพังสุรินทร์ งานส่งเสริมสุขภาพ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครตรังเห็นความสำคัญ
จึงจัดการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน เพื่อการช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะวิกฤต และสอนการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ให้ข้าราชการ,พนักงาน,ลูกจ้าง เทศบาลนครตรัง, อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน, ผู้ดูแลเครื่อง นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย.และประชาชนทั่วไปให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการช่วยชีวิตเบื้องต้น สามารถใช้เครื่องฯ.ช่วยเหลือผู้ที่ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันได้อย่างปลอดภัยและทันท่วงที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน.และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิต
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ
- ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง
- ผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน.และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ.
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะ เรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน.และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิต (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิต
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวชญาภา ขันทกะพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568 ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวชญาภา ขันทกะพันธ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-01-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568-L6896-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 115,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะหัวใจหยุดเต้นและหรือหยุดหายใจเฉียบพลัน (Sudden Cardiac Arrest: CA) เป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ มีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือจากโรคหัวใจขาดเลือด (Cardiac Cause) จากการมีโรคหัวใจอยู่เดิมซึ่งมักพบในผู้ป่วยที่อายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป มักพบว่ามีหัวใจเต้นผิดปกติชนิดที่สั่นพลิ้วไม่มีแรงบีบตัวเพื่อให้เลือดออกจากหัวใจ (Ventricular Fibrillation: VF) สาเหตุที่ 2 คือ การขาดออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายจากอุบัติเหตุต่างๆมักเกิดเหตุนอกโรงพยาบาล (Out-of-Hospital Cardiac Arrests: OHCA) เช่นใน ปี พ.ศ.2557 ในอเมริกา มีผู้ป่วยภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันนอกโรงพยาบาล จำนวน 424,000 คน มีอัตราการเสียชีวิตทั้งนอกและในโรงพยาบาล จากกล้ามเนื้อหัวใจตาย ประมาณร้อยละ 50 ในประเทศไทย มีผู้ป่วย OHCA โดยประมาณคือ 0.5-1.0 ต่อ 1,000 รายต่อปี เสียชีวิตจากโรคหัวใจขาดเลือดและอุบัติเหตุจราจร และคาดการณ์ได้ว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจเพิ่มขึ้น โดยพบอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจเพิ่มขึ้นในช่วงเวลาเดียวกัน จาก 20.25 คนต่อแสนประชากร เป็น 27.83 คนต่อแสนประชากร ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันมีโอกาสเสียชีวิตในไม่กี่นาทีภายหลังหัวใจหยุดเต้น การเริ่มกดนวดหน้าอกโดยเร็ว มีผลต่อการกลับมาเต้นของหัวใจ ผู้พบเห็นคนแรกที่เริ่มทำการฟื้นคืนชีพเร็ว มีความสัมพันธ์ กับอัตรารอดชีวิตที่เพิ่มขึ้น ตามหลักการห่วงโซ่ของการอยู่รอด (.Chain.of.Survival.).ปี พ.ศ.2558.สมาคมโรคหัวใจ แห่งอเมริกา (American Heart Association: AHA) ให้ข้อเสนอแนะว่าบุคคลแรกที่ไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์ (Bystander) ที่พบเห็นเหตุการณ์ มีบทบาทสำคัญใน 3.ห่วงแรกของการช่วยชีวิต คือ 1).เมื่อพบผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นโทรแจ้งหน่วยฉุกเฉินทันที 2).เริ่มกดนวดหน้าอก (Chest Compression) ให้เร็วภายในเวลา.4.นาที และ 3) กระตุ้นหัวใจด้วยเครื่องไฟฟ้าแต่พบว่าผู้ป่วย OHCA.ได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพโดยผู้พบเห็นคนแรกค่อนข้างน้อย อัตราการรอดชีวิตจนออกจากโรงพยาบาลค่อนข้างต่ำ คือประมาณร้อยละ 7.6-7.9 เท่านั้น การให้คำแนะนำการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานจึงมีความสำคัญมากเนื่องจากช่วยเพิ่มจำนวนการช่วยฟื้นคืนชีพจากผู้พบเห็นคนแรกทำให้เริ่มการกดนวดหน้าอกครั้งแรกเร็วขึ้น นำไปสู่การมีชีวิตรอดที่เพิ่มขึ้น
จากการที่เทศบาลนครตรังมีครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์หรือการแพทย์เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ และจากการสนับสนุนเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ จากหน่วยงานอื่นๆ ที่มาติดตั้งในพื้นที่สาธารณะ ในเขตเทศบาลนครตรัง ซึ่งมีประชาชนมาใช้บริการในสถานที่สาธารณะเป็นจำนวนมาก ได้แก่ สนามกีฬาเทศบาลนครตรัง,ชมรมเทนนิสเทศบาลนครตรัง(สนามกีฬาทุ่งแจ้ง), สวนสาธารณะสมเด็จพระศรีนครินทร์ 95 (เขาแปะช้อย), อนุสาวรีย์พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี และสวนสาธารณะสระกะพังสุรินทร์ งานส่งเสริมสุขภาพ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครตรังเห็นความสำคัญ
จึงจัดการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน เพื่อการช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะวิกฤต และสอนการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ให้ข้าราชการ,พนักงาน,ลูกจ้าง เทศบาลนครตรัง, อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน, ผู้ดูแลเครื่อง นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย.และประชาชนทั่วไปให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการช่วยชีวิตเบื้องต้น สามารถใช้เครื่องฯ.ช่วยเหลือผู้ที่ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันได้อย่างปลอดภัยและทันท่วงที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน.และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิต
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
- ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ
- ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง
- ผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน.และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ. ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะ เรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะเรื่องการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน.และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิต (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิต
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568-L6896-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวชญาภา ขันทกะพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......