กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1. กิจกรรม เตรียมงานก่อนดำเนินการ 1 ต.ค. 2567 1 ต.ค. 2567

 

1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการแก่ อสม. แกนนำชุมชน เจ้าหน้าที่ประจำชุมชน จัดทำแผนการออกคัดกรองรายชุมชน 2.จัดสำรวจ/จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย เตรียมเอกสารการคัดกรอง เวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 3.ประชาสัมพันธ์แผนงาน/โครงการ งบประมาณ -ค่าถ่ายเอกสาร -แถบตรวจน้ำตาลในเลือด

 

1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการแก่ อสม. แกนนำชุมชน เจ้าหน้าที่ประจำชุมชน ทั้ง 45 ชุมชน พร้อมจัดทำแผนการออกคัดกรองรายชุมชน 2.จัดสำรวจ/จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรอง เตรียมเอกสารการคัดกรอง จัดซื้อจัดจ้างเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 3.ประชาสัมพันธ์แผนงาน/โครงการ งบประมาณ -ค่าถ่ายเอกสาร แบบฟอร์มคัดกรองอายุ 35-59 ปี จำนวน 1,780 ชุด  แบบฟอร์มคัดกรองอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 5,090 ชุด -แถบตรวจน้ำตาลในเลือด 9,870 แถบ (99 กล่อง*434 บาท)

 

2. กิจกรรม ตรวจคัดกรอง 1 ต.ค. 2567 1 ต.ค. 2567

 

-ตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในแต่ละชุมชนโดยซักประวัติพฤติกรรมสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว ดัชนีมวลกาย วัดความดันโลหิต วัดระดับน้ำตาลในเลือด แปลผลการคัดกรอง -ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเป้าหมาย -คัดกรองตามแนวทางการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด -จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง -ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงโดยเจ้าหน้่าที่และ อสม.เพื่อเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพร้อมให้คำแนะนำผู้ที่มีความเสี่ยง -ส่งต่อในรายที่มีผลการตรวจคัดกรองผิดปกติ ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ -บันทึกผลการคัดกรองในโปรแกรม JHCIS

 

-ผลการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน  กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 92.95 -ผลการดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 91.66

 

3.ประเมินผลสรุปและประเมินโครงการ 1 เม.ย. 2568 1 เม.ย. 2568

 

สรุปผลการดำเนินโครงการ

 

-ผลการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน  กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 92.95 พบเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 86.13 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 12.21 กลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 1.58 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามตรวจซ้ำและ วินิจฉัยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 0.27 -ผลการดำเนินงานคัดกรองความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองร้อยละ 91.66 พบเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 67.06 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 26.91 กลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 5.85 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการติดตามตรวจซ้ำและวินิจฉัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 0.73
-กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 61.37  โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 63.35 -กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นโรคเบาหวานได้รับการติดตามรักษา ร้อยละ 95.8 โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 91.37