โครงการลดโรค ลดเสี่ยง ภาวะเบาหวานและความดัน
ชื่อโครงการ | โครงการลดโรค ลดเสี่ยง ภาวะเบาหวานและความดัน |
รหัสโครงการ | 68-L3356-2-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านยางงาม |
วันที่อนุมัติ | 30 ตุลาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 19,185.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางช่อจันทร์ แก้วแสงอ่อน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | บ้านยางงาม ม.3 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน | 80.00 | ||
2 | ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง | 80.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถป้องกันและควบคุมได้ด้วยการเรียนรู้เรื่องโรคและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวผู้ป่วย ซึ่งนับวันจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ นอกจากนั้นยังพบว่า เมื่ออายุสูงขึ้นมีโอกาสเป็นเบาหวานได้ง่าย เมื่อเป็นโรคเบาหวานระยะเวลาหนึ่งแล้วจะเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต หัวใจ ระบบประสาท แผลเรื้อรัง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขึ้น มีการเกิดภาวะหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้น 3 - 4 เท่า และโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น 3 - 8 เท่า แต่เนื่องด้วยผู้ป่วยเบาหวานและความดันโหิตสูงต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง และมีการปรับพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทำให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีความเบื่อหน่ายขาดความใส่ใจในการรักษา ไม่ร่วมมือในการปรับเปลี่ยน ส่งผลต่อการควบคุมอาการของโรค กระทบต่อผู้ป่วยโดยตรงจากการกำเริบอาการของโรคและภาวะแซกซ้อนที่เกิดขึ้น จึงมีความจำเป็นและควรเริ่มต้นจากการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้ป่วยเอง จึงได้จัดทำโครงการลดโรค ลดเสี่ยง ภาวะความดันและเบาหวาน เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีความรู้และมีความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และเข้าถึงการรับบริการตามสิทธิประโยชน์ ซึ่งประชารกรของหมู่ที่ 3 ทั้งหมดโดยรวม 506 คน ผู้ป่วยที่รับยาที่ รพ.สต.บ้านาท่อม แยกเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 30 คน ผู้ป่วยเบาหวาน 10 คน และผู้ป่วยไขมันในเลือดสูง 21 คน มีกลุ่มเสี่ยงโดยประมาณ 136 คน คิดเป็นร้อยละ 30.56 โดยคัดเอากลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยง 50 คน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง |
80.00 | 70.00 |
2 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง |
80.00 | 70.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 19,185.00 | 0 | 0.00 | |
12 ม.ค. 68 | เวทีติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ | 0 | 5,200.00 | - | ||
15 ก.พ. 68 | อบรมให้ความรู้ | 0 | 3,650.00 | - | ||
2 มี.ค. 68 | ประชุมคณะทำงานและกลไกติดตาม | 0 | 1,155.00 | - | ||
5 เม.ย. 68 | เวทีติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 | 0 | 4,200.00 | - | ||
9 ส.ค. 68 | เวทีติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปประเมินผล | 0 | 4,980.00 | - |
1.ประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง เหลือ ร้อยละ 70
2.ประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตลดลงเหลือ ร้อยละ 70
3.ประชาชนได้รับความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินการออกกำลังกาย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ก.ย. 2567 14:34 น.