สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายกันต์ศักดิ์ หลีเพิ่มสุข
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ
ธันวาคม 2567
ชื่อโครงการ สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3333-02-19 เลขที่ข้อตกลง 18/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3333-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สาเหตุและที่มาของขยะ เกิดจากความมักง่ายและขาดจิตสำนึก เป็นสาเหตุที่พบบ่อยมาก ซึ่งจะเห็นได้จากการทิ้งขยะลงตามพื้นหรือแหล่งน้ำโดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้ หรือแม้แต่กระทั่งการซื้อของการใช้สิ่งของของนักเรียน เช่น ขนมกระดาษแก้วน้ำ ขวดน้ำ โดยใส่ถุงพลาสติกหลายๆถุง ทำให้มีขยะเพิ่มขึ้นในปริมาณมาก ในปัจจุบันเราอาจจะเคยชินกับการ ทิ้งขยะที่เรี่ยราดไม่เป็นที่เป็นทาง ไม่ว่าจะเป็นที่สวนสาธารณะ ถนน ที่ทำงาน หรือแม้กระทั่งโรงเรียน โดยเฉพาะโรงเรียน แต่นักเรียนส่วนใหญ่ก็มองข้ามถังขยะไม่ยอมทิ้งลงถัง มีแต่ความมักง่ายที่ชอบซุกขยะไว้บริเวณรอบๆที่ตนเองอยู่ตรงนั้น เช่น โต๊ะหินอ่อน โต๊ะนักเรียน บนพื้น ท่อระบายน้ำหรือแม้แจ่ต้นไม้ที่เป็นซอกเป็นรูก็ยังทิ้งไปได้ มีแต่นักเรียนส่วนน้อยและคุณครูก็เห็นว่าการทิ้งขยะไม่ถูกที่ทำให้โรงเรียนไม่สะอาด ดูไม่งามตา และคุณครูทุกๆคน ก็สั่งสอนนักเรียนให้มีความรับผิดชอบมีระเบียบวินัย และรู้จักรักษาความสะอาดอยู่แล้ว ก็มีการจัดเวรทำความสะอาดอยู่ทุกวัน แต่การกำจัดเพียงพอบรรเทาไม่ให้ขยะมันมากเกินไป เพราะคนทิ้งมากกว่าคนเก็บ เพราะฉะนั้นทุกคนควรมีความคิดในเรื่องของภัยขยะที่ตามมา เช่น มลพิษ โรงเรียนหรือที่ต่าง ๆไม่สะอาดและไม่น่าอยู่ ถ้ามีคนประมาณ 100 คน ถ้าทิ้งขยะคนละชิ้น ก็จะมีขยะเพิ่มในโรงเรียน 100 ชิ้นแต่ถ้าเก็บขยะลงถังคนละชิ้น ก็จะมีขยะในโรงเรียนลดลง 100 ชิ้นโรงเรียนที่ไม่ขยะ ถึงมีแต่ก็น้อยที่สุด การป้องกันและควบคุมการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะที่สำคัญ คือ การลดขยะที่แหล่งกำเนิด โดยอาศัยขบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน การลดปริมาณขยะจะสามารถลดค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะตั้งแต่การเก็ยรวบรวม ขนส่ง การคัดแยกและใช้ประโยชน์ ตลอดจนการกำจัดขั้นสุดท้าย ลดปัญหาสภาวะสิ่งแวดล้อม และประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ โดยทั่วไปแล้วหน่วยงานองค์กรและชุมชน สามารถลดปริมาณขยะที่จะเกิดขึ้นได้ ก่อนจะทิ้งขยะเราควรมีการคัดแยกขยะตามประเภทเพื่อจะสามารถลดปริมาณขยะและขยะกลับมาใช้ประโยชน์ได้ใหม่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ และสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม
- เพื่อให้เกิดการริเริ่มการแยกขยะในสถานศึกษา
- เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน ครู และบุคลากรทาง การศึกษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การประชุมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เรื่อง ขยะคือแหล่งเพาะเชื้อโรค
- กิจกรรมสาธิตวิธีการแยกขยะ ในครัวเรือน
- กิจกรรม ริเริ่มคัดเเยกขยะ
- จัดซื้อชุดถังขยะ แยกประเภทขยะ
- ประเมินผลการดำเนินโครงการ
- สรุปผลการรายงานผลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
71
กลุ่มวัยทำงาน
11
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถลดปริมาณขยะ การคัดแยก สามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและลดภาวะโลกร้อนได้
- เกิดการริเริ่มการแยกขยะและการใช้ถังขยะแต่ละประเภท
- นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีสุขภาวะที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- สามารถลดปริมาณขยะ การคัดแยก สามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม และลดภาวะโลกร้อนได้
- นักเรียนเกิดการริเริ่มการคัดแยกขยะและการใช้ถังขยะแต่ละประเภท
- นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีสุขภาวะที่ดี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ และสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด : นักเรียน/ครู/บุคลากร 100 % สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม
0.00
2
เพื่อให้เกิดการริเริ่มการแยกขยะในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของ นักเรียน/ครู/บุคลากร/มีการแยกขยะในสถานศึกษา
0.00
3
เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน ครู และบุคลากรทาง การศึกษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของนักเรียน/ครู/บุคลากร มีสุขภาวะที่ดี
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
82
82
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
71
กลุ่มวัยทำงาน
11
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ และสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม (2) เพื่อให้เกิดการริเริ่มการแยกขยะในสถานศึกษา (3) เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน ครู และบุคลากรทาง การศึกษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เรื่อง ขยะคือแหล่งเพาะเชื้อโรค (2) กิจกรรมสาธิตวิธีการแยกขยะ ในครัวเรือน (3) กิจกรรม ริเริ่มคัดเเยกขยะ (4) จัดซื้อชุดถังขยะ แยกประเภทขยะ (5) ประเมินผลการดำเนินโครงการ (6) สรุปผลการรายงานผลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3333-02-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายกันต์ศักดิ์ หลีเพิ่มสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายกันต์ศักดิ์ หลีเพิ่มสุข
ธันวาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3333-02-19 เลขที่ข้อตกลง 18/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3333-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สาเหตุและที่มาของขยะ เกิดจากความมักง่ายและขาดจิตสำนึก เป็นสาเหตุที่พบบ่อยมาก ซึ่งจะเห็นได้จากการทิ้งขยะลงตามพื้นหรือแหล่งน้ำโดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้ หรือแม้แต่กระทั่งการซื้อของการใช้สิ่งของของนักเรียน เช่น ขนมกระดาษแก้วน้ำ ขวดน้ำ โดยใส่ถุงพลาสติกหลายๆถุง ทำให้มีขยะเพิ่มขึ้นในปริมาณมาก ในปัจจุบันเราอาจจะเคยชินกับการ ทิ้งขยะที่เรี่ยราดไม่เป็นที่เป็นทาง ไม่ว่าจะเป็นที่สวนสาธารณะ ถนน ที่ทำงาน หรือแม้กระทั่งโรงเรียน โดยเฉพาะโรงเรียน แต่นักเรียนส่วนใหญ่ก็มองข้ามถังขยะไม่ยอมทิ้งลงถัง มีแต่ความมักง่ายที่ชอบซุกขยะไว้บริเวณรอบๆที่ตนเองอยู่ตรงนั้น เช่น โต๊ะหินอ่อน โต๊ะนักเรียน บนพื้น ท่อระบายน้ำหรือแม้แจ่ต้นไม้ที่เป็นซอกเป็นรูก็ยังทิ้งไปได้ มีแต่นักเรียนส่วนน้อยและคุณครูก็เห็นว่าการทิ้งขยะไม่ถูกที่ทำให้โรงเรียนไม่สะอาด ดูไม่งามตา และคุณครูทุกๆคน ก็สั่งสอนนักเรียนให้มีความรับผิดชอบมีระเบียบวินัย และรู้จักรักษาความสะอาดอยู่แล้ว ก็มีการจัดเวรทำความสะอาดอยู่ทุกวัน แต่การกำจัดเพียงพอบรรเทาไม่ให้ขยะมันมากเกินไป เพราะคนทิ้งมากกว่าคนเก็บ เพราะฉะนั้นทุกคนควรมีความคิดในเรื่องของภัยขยะที่ตามมา เช่น มลพิษ โรงเรียนหรือที่ต่าง ๆไม่สะอาดและไม่น่าอยู่ ถ้ามีคนประมาณ 100 คน ถ้าทิ้งขยะคนละชิ้น ก็จะมีขยะเพิ่มในโรงเรียน 100 ชิ้นแต่ถ้าเก็บขยะลงถังคนละชิ้น ก็จะมีขยะในโรงเรียนลดลง 100 ชิ้นโรงเรียนที่ไม่ขยะ ถึงมีแต่ก็น้อยที่สุด การป้องกันและควบคุมการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะที่สำคัญ คือ การลดขยะที่แหล่งกำเนิด โดยอาศัยขบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน การลดปริมาณขยะจะสามารถลดค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะตั้งแต่การเก็ยรวบรวม ขนส่ง การคัดแยกและใช้ประโยชน์ ตลอดจนการกำจัดขั้นสุดท้าย ลดปัญหาสภาวะสิ่งแวดล้อม และประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ โดยทั่วไปแล้วหน่วยงานองค์กรและชุมชน สามารถลดปริมาณขยะที่จะเกิดขึ้นได้ ก่อนจะทิ้งขยะเราควรมีการคัดแยกขยะตามประเภทเพื่อจะสามารถลดปริมาณขยะและขยะกลับมาใช้ประโยชน์ได้ใหม่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ และสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม
- เพื่อให้เกิดการริเริ่มการแยกขยะในสถานศึกษา
- เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน ครู และบุคลากรทาง การศึกษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การประชุมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เรื่อง ขยะคือแหล่งเพาะเชื้อโรค
- กิจกรรมสาธิตวิธีการแยกขยะ ในครัวเรือน
- กิจกรรม ริเริ่มคัดเเยกขยะ
- จัดซื้อชุดถังขยะ แยกประเภทขยะ
- ประเมินผลการดำเนินโครงการ
- สรุปผลการรายงานผลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 71 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 11 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถลดปริมาณขยะ การคัดแยก สามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและลดภาวะโลกร้อนได้
- เกิดการริเริ่มการแยกขยะและการใช้ถังขยะแต่ละประเภท
- นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีสุขภาวะที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- สามารถลดปริมาณขยะ การคัดแยก สามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม และลดภาวะโลกร้อนได้
- นักเรียนเกิดการริเริ่มการคัดแยกขยะและการใช้ถังขยะแต่ละประเภท
- นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีสุขภาวะที่ดี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ และสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ตัวชี้วัด : นักเรียน/ครู/บุคลากร 100 % สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เกิดการริเริ่มการแยกขยะในสถานศึกษา ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของ นักเรียน/ครู/บุคลากร/มีการแยกขยะในสถานศึกษา |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน ครู และบุคลากรทาง การศึกษา ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของนักเรียน/ครู/บุคลากร มีสุขภาวะที่ดี |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 82 | 82 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 71 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 11 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ และสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม (2) เพื่อให้เกิดการริเริ่มการแยกขยะในสถานศึกษา (3) เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน ครู และบุคลากรทาง การศึกษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เรื่อง ขยะคือแหล่งเพาะเชื้อโรค (2) กิจกรรมสาธิตวิธีการแยกขยะ ในครัวเรือน (3) กิจกรรม ริเริ่มคัดเเยกขยะ (4) จัดซื้อชุดถังขยะ แยกประเภทขยะ (5) ประเมินผลการดำเนินโครงการ (6) สรุปผลการรายงานผลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
สุภาษิตวัยใสพร้อมใจรักษ์โลกร่วมกันคัดแยกขยะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3333-02-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายกันต์ศักดิ์ หลีเพิ่มสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......