กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มคนทั่วไปวัยทำงานโดยการเต้นแอโรบิค บ้านป่าขี้เหล็ก ”
ศาลาเอกประสงค์หมู่บ้านป่าขี้เหล็ก



หัวหน้าโครงการ
นายวินัย แหละหนิ๊




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มคนทั่วไปวัยทำงานโดยการเต้นแอโรบิค บ้านป่าขี้เหล็ก

ที่อยู่ ศาลาเอกประสงค์หมู่บ้านป่าขี้เหล็ก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7892-2-12 เลขที่ข้อตกลง 19/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มคนทั่วไปวัยทำงานโดยการเต้นแอโรบิค บ้านป่าขี้เหล็ก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศาลาเอกประสงค์หมู่บ้านป่าขี้เหล็ก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มคนทั่วไปวัยทำงานโดยการเต้นแอโรบิค บ้านป่าขี้เหล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มคนทั่วไปวัยทำงานโดยการเต้นแอโรบิค บ้านป่าขี้เหล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ศาลาเอกประสงค์หมู่บ้านป่าขี้เหล็ก รหัสโครงการ 67-L7892-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การออกกำลังกายเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งต่อการมีสุขภาพที่สมบูรณ์และแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ รวมทั้งมีภูมิต้านทานโรค เนื่องจากสภาพสังคมปัจจุบันมีหลายปัจจัยที่ส่งผลให้สภาพร่างกายทรุดโทรม หลายคน มองข้ามการออกกำลังกาย หลายคนอ้างไม่มีเวลา บางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถในชีวิตประจำวันเป็นการ ออกกำลังกาย จึงเป็นสาเหตุให้สุขภาพอ่อนแอลง และอาจจะประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ตามมา เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน และโรคที่มาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน ที่ไม่ ถูกต้องต่างๆ ซึ่งการออกกำลังกายเป็นเรื่องที่สำคัญสำหรับชีวิตของคนเรา นอกจากเพื่อสุขภาพที่ดีห่างไกลความ เจ็บป่วย มีภูมิต้านทานโรคแล้ว ยังลดภาระค่าใช้จ่ายในด้านการรักษาพยาบาลของประชาชน เป็นการส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมการออกกำลังกายได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ พร้อมทั้งเป็นการเสริมสร้างความรักความสามัคคีและสัมพันธภาพที่ดีต่อกันของสมาชิกในชุมชน
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ 15 บ้านป่าขี้เหล็ก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มคนทั่วไปวัยทำงานโดยการเต้นแอโรบิค บ้านป่าขี้เหล็กขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้มีการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพด้วยการเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตระหนัก ความตื่นตัวในการออกกำลังกาย เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายส่งผลให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายความเครียด เสริมสร้างความสามัคคี และที่สำคัญ การออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอีกด้วยจึงจำเป็นต้องพัฒนาพฤติกรรม สร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มวัยนี้ให้ยั่งยืนจนเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมให้สุขภาพของวัยทำงานอยู่ในระดับสูงสุดตามศักยภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดคณะทำงานด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน
  2. เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น
  3. เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีพฤติกรมที่ดี ในการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของตัวเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเตรียมความพร้อมด้านสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ
  2. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดคณะทำงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน 2.กลุ่มวัยทำงานมีความรู้ความเข้าใจ และเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพ
3.กลุ่ม วัยทำงาน มีพฤติกรรมที่ดีในการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง และเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่คนในหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเตรียมความพร้อมด้านสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วัดค่าดัชนีมวลกาย(BMI)สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผลการวัดค่าดัชนีมวลกาย(BMI)ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม

 

0 0

2. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค

วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมมีร่างกายที่แข็งแรงขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดคณะทำงานด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดคณะทำงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนขึ้นมาในชุมชน
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มวัยทำงานมีความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น ได้รับความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส. เพิ่มขึ้นหลังการอบรม
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีพฤติกรมที่ดี ในการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของตัวเอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มวัยทำงานมีพฤติกรมที่ดี มีการปฏิบัติตนในการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของตัวเอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดคณะทำงานด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน (2) เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น (3) เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีพฤติกรมที่ดี ในการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของตัวเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเตรียมความพร้อมด้านสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ (2) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มคนทั่วไปวัยทำงานโดยการเต้นแอโรบิค บ้านป่าขี้เหล็ก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7892-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวินัย แหละหนิ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด