โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ”
ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายบันเทิง ล่องจันทร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3018-4-20 เลขที่ข้อตกลง 20/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2567 ถึง 19 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3018-4-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2567 - 19 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 157,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนในพื้นที่
ซึ่งตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ.2561 ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนหรือส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ
เทศบาลตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ได้ลงนามความร่วมมือจัดตั้งกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ตำบลรูสะมิแล ในการดำเนินงานกองทุนฯ ดังกล่าว คณะกรรมการกองทุนจึงเป็นกลไกหนึ่งที่จะทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนกองทุนให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล โดยการปฏิบัติงานที่ดีมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่าของประชาชนในพื้นที่นั้น จำเป็นที่คณะกรรมการกองทุนและคณะอนุกรรมการกองทุนชุดต่างๆจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตลอดจนจะต้องเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการจัดทำกิจกรรม หรือพิจารณาคัดเลือกกิจกรรมเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาด้วยตนเอง การฝึกอบรม หรือการศึกษาดูงานหน่วยงานที่ประสบความสำเร็จ คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแลขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาคณะกรรมการกองทุนฯให้สามารถดำเนินงานต่างๆ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ได้รับความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
- เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่นๆ ที่มีศักยภาพและนำองค์ความรู้มาพัฒนากองทุนและกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ต่อไป
- สามารถสร้างเครือข่ายด้านการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาพื้นที่และดูแลประชาชนด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนตำบลดีเด่น (Premium)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
36
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
34
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ได้รับความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
- คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่นๆที่มีศักยภาพ อย่างน้อย 1 กองทุน
- สร้างเครือข่ายด้านการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาพื้นที่และดูแลประชาชนด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ได้รับความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่นๆ ที่มีศักยภาพและนำองค์ความรู้มาพัฒนากองทุนและกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ต่อไป
ตัวชี้วัด :
3
สามารถสร้างเครือข่ายด้านการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาพื้นที่และดูแลประชาชนด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
36
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
34
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ได้รับความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ (2) เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่นๆ ที่มีศักยภาพและนำองค์ความรู้มาพัฒนากองทุนและกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ต่อไป (3) สามารถสร้างเครือข่ายด้านการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาพื้นที่และดูแลประชาชนด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนตำบลดีเด่น (Premium)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3018-4-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายบันเทิง ล่องจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ”
ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายบันเทิง ล่องจันทร์
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3018-4-20 เลขที่ข้อตกลง 20/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2567 ถึง 19 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3018-4-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2567 - 19 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 157,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองรูสะมิแล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนในพื้นที่
ซึ่งตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ.2561 ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนหรือส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ
เทศบาลตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ได้ลงนามความร่วมมือจัดตั้งกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ตำบลรูสะมิแล ในการดำเนินงานกองทุนฯ ดังกล่าว คณะกรรมการกองทุนจึงเป็นกลไกหนึ่งที่จะทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนกองทุนให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล โดยการปฏิบัติงานที่ดีมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่าของประชาชนในพื้นที่นั้น จำเป็นที่คณะกรรมการกองทุนและคณะอนุกรรมการกองทุนชุดต่างๆจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตลอดจนจะต้องเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการจัดทำกิจกรรม หรือพิจารณาคัดเลือกกิจกรรมเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาด้วยตนเอง การฝึกอบรม หรือการศึกษาดูงานหน่วยงานที่ประสบความสำเร็จ คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแลขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาคณะกรรมการกองทุนฯให้สามารถดำเนินงานต่างๆ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ได้รับความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
- เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่นๆ ที่มีศักยภาพและนำองค์ความรู้มาพัฒนากองทุนและกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ต่อไป
- สามารถสร้างเครือข่ายด้านการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาพื้นที่และดูแลประชาชนด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนตำบลดีเด่น (Premium)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 36 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 34 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ได้รับความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
- คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่นๆที่มีศักยภาพ อย่างน้อย 1 กองทุน
- สร้างเครือข่ายด้านการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาพื้นที่และดูแลประชาชนด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ได้รับความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่นๆ ที่มีศักยภาพและนำองค์ความรู้มาพัฒนากองทุนและกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ต่อไป ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | สามารถสร้างเครือข่ายด้านการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาพื้นที่และดูแลประชาชนด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 36 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 34 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ได้รับความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ (2) เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพอื่นๆ ที่มีศักยภาพและนำองค์ความรู้มาพัฒนากองทุนและกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ต่อไป (3) สามารถสร้างเครือข่ายด้านการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาพื้นที่และดูแลประชาชนด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนตำบลดีเด่น (Premium)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรูสะมิแล ประจำปีงบประมาณ 2567 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L3018-4-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายบันเทิง ล่องจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......