โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 ”
ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสุภารัตน์ มูซอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด
มกราคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567
ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67 - L2985 - 02 - 18 เลขที่ข้อตกลง 18/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67 - L2985 - 02 - 18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรค คือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน มีการขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่ง พบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด พื้นที่ตำบลมะกรูด เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกจำนวนมาก และเป็นมาอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลของ PCU มะกรูด ในปีงบประมาณ2567 (เดือนตุลาคม 2566 - กรกฎาคม 2567) พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งในหมู่บ้านและโรงเรียน พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 27 ราย ส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงฤดูฝนของทุกปี สาเหตุเกิดจากการขาดความตระหนักของประชาชน มีน้ำขังในภาชนะ มีขยะบริเวณรอบบ้าน การเลี้ยงนกและไก่ ส่งผลทำให้เกิดแหล่งเพาะพันธ์ุของยุงลาย ดังนั้นจึงจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมพร้อมในการป้องกันโรคในพื้นที่ การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้เกิดความตระหนัก สำหรับการเฝ้าระวัง และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อให้ได้ผลอย่างรวดเร็วนั้นต้องตัดวงจรการติดต่อของโรคอย่างทันท่วงที่ จึงจำเป็นต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน มีมาตรฐาน การเตรียมพร้อมสำหรับวัสดุทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ต่างๆ ให้ทันท่วงที่และเพียงพอกับการใช้งานจึงเป็นเรืื่องที่สำคัญ กลุ่มอสม. หมู่ที่2 ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัทำโครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
- เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคภายในชุมชนอย่างเพียงพอ 2. มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกเพียงพอและครอบคลุมในชุมชน ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆ มากขึ้น สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดดรคได้ถูกวิธีและถูกต้องมากยิ่งขึ้น 3.ลดการระบาดของโรคไม่ให้ขยายไปในวงกว้าง 4. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 5. ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.1 สำรวจลูกน้ำยุงลาย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
1.2 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายโดยการคว่ำภาชนะและใส่ทรายอะเบท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ลงพื้นที่สำรวจลูกน้ำยุงลาย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
- อสม. ลงพื้นที่กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายโดยการคว่ำภาชนะและใส่ทรายอะเบท
0
0
2. กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก
วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การพ่นหมอกควัน เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ดำเนินการพ่นหมอกควัน กรณีเกิดโรคไข้เลือดออกและควบคุมการระบาดควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.1 มีอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 10 ราย ในหมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด
1.2 ร้อยละ 100 ของพื้นที่ ม.2 มีการพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก
1.3 ค่า HI เป็น 1 , ค่า CI เป็น 1
กิจกรรม : 1. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
1.1 ดำเนินการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ทุกสัปดาห์ๆ ละ 1 ครั้ง
1.2 ดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย โดยการคว่ำภาชนะ และใส่ทรายอะเบท
2. กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดควบคุมโรคไข้เลือดออก
2.1 ดำเนินการพ่นหมอกควัน กรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน และภายในโรงเรียนในเขตพื้นที่
วันที่ดำเนินกิจกรรม : 1 ตุลาคม 2567 – 31 มกราคม 2568
กลุ่มเป้าหมาย ; อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน หมู่ที่ 2 และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
สถานที่ดำเนินการ : พื้นที่ ม.2 ตำบลมะกรูด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
2
เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : พื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้รับการควบคุมทันเวลาตามมาตรการ
100.00
3
เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : ค่า HI เป็น 0 ,ค่า CI เป็น 0
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (3) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67 - L2985 - 02 - 18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุภารัตน์ มูซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 ”
ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสุภารัตน์ มูซอ
มกราคม 2568
ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67 - L2985 - 02 - 18 เลขที่ข้อตกลง 18/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67 - L2985 - 02 - 18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรค คือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน มีการขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่ง พบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด พื้นที่ตำบลมะกรูด เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกจำนวนมาก และเป็นมาอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลของ PCU มะกรูด ในปีงบประมาณ2567 (เดือนตุลาคม 2566 - กรกฎาคม 2567) พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งในหมู่บ้านและโรงเรียน พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 27 ราย ส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงฤดูฝนของทุกปี สาเหตุเกิดจากการขาดความตระหนักของประชาชน มีน้ำขังในภาชนะ มีขยะบริเวณรอบบ้าน การเลี้ยงนกและไก่ ส่งผลทำให้เกิดแหล่งเพาะพันธ์ุของยุงลาย ดังนั้นจึงจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมพร้อมในการป้องกันโรคในพื้นที่ การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้เกิดความตระหนัก สำหรับการเฝ้าระวัง และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อให้ได้ผลอย่างรวดเร็วนั้นต้องตัดวงจรการติดต่อของโรคอย่างทันท่วงที่ จึงจำเป็นต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน มีมาตรฐาน การเตรียมพร้อมสำหรับวัสดุทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ต่างๆ ให้ทันท่วงที่และเพียงพอกับการใช้งานจึงเป็นเรืื่องที่สำคัญ กลุ่มอสม. หมู่ที่2 ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัทำโครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
- เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคภายในชุมชนอย่างเพียงพอ 2. มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกเพียงพอและครอบคลุมในชุมชน ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆ มากขึ้น สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดดรคได้ถูกวิธีและถูกต้องมากยิ่งขึ้น 3.ลดการระบาดของโรคไม่ให้ขยายไปในวงกว้าง 4. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 5. ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.1 สำรวจลูกน้ำยุงลาย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 1.2 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายโดยการคว่ำภาชนะและใส่ทรายอะเบท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการพ่นหมอกควัน เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.1 มีอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 10 ราย ในหมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด
1.2 ร้อยละ 100 ของพื้นที่ ม.2 มีการพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก
1.3 ค่า HI เป็น 1 , ค่า CI เป็น 1
กิจกรรม : 1. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
1.1 ดำเนินการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ทุกสัปดาห์ๆ ละ 1 ครั้ง
1.2 ดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย โดยการคว่ำภาชนะ และใส่ทรายอะเบท
2. กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดควบคุมโรคไข้เลือดออก
2.1 ดำเนินการพ่นหมอกควัน กรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน และภายในโรงเรียนในเขตพื้นที่
วันที่ดำเนินกิจกรรม : 1 ตุลาคม 2567 – 31 มกราคม 2568
กลุ่มเป้าหมาย ; อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน หมู่ที่ 2 และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
สถานที่ดำเนินการ : พื้นที่ ม.2 ตำบลมะกรูด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร |
|
|||
2 | เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ตัวชี้วัด : พื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้รับการควบคุมทันเวลาตามมาตรการ |
100.00 |
|
||
3 | เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย ตัวชี้วัด : ค่า HI เป็น 0 ,ค่า CI เป็น 0 |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | 20 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | 20 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (3) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67 - L2985 - 02 - 18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุภารัตน์ มูซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......