โครงการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและยุงพาหะตำบลสะท้อน ปี 2567
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและยุงพาหะตำบลสะท้อน ปี 2567 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | งานสาธารณสุข สำนักปลัด อบต.สะท้อน |
วันที่อนุมัติ | 25 กันยายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กันยายน 2567 - 30 ธันวาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ธันวาคม 2567 |
งบประมาณ | 100,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | สำนักปลัด อบต.สะท้อน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสะท้อน อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.622,100.673place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.ย. 2567 | 30 ธ.ค. 2567 | 100,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 100,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด 2. สถานการณ์ปัญหา สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ.2567 โดยข้อมูลจากกองระบาดวิทยา ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2567 พบผู้ป่วย 32,140 ราย ซึ่งสูงกว่าช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา 1.3 เท่า และมีแนวโน้มเกิดการระบาดอย่างต่อเนื่องและจากการพยากรณ์โรคในปี พ.ศ. 2567 ช่วง 4 เดือน (มิถุนายน - กันยายน) คาดการณ์ว่า พบผู้ป่วยไข้เลือดอออกสูงถึง 150,000 ราย และพื้นที่ตำบลสะท้อนก็เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่พบการระบาดของโรคไข้เลือดออกตลอดทั้งปี ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องมีการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ โดยการสร้างความเข้าใจ ตระหนักให้ความสำคัญ จึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและยุงพาหะ 2. เพื่อควบคุมพาหะนำโรคหลังได้รับรายงาน 3. เพื่อสร้างความเข้าใจและลดอัตราการป่วยของประชาชนด้วยไข้เลือดออกในพื้นที่
|
10.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 2000 | 100,000.00 | 0 | 0.00 | 100,000.00 | |
1 ก.ย. 67 - 30 ธ.ค. 67 | มาตรการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกและยุงพาหะ | 2,000 | 100,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 2,000 | 100,000.00 | 0 | 0.00 | 100,000.00 |
อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
ลดการแพร่ระบาดของไข้เลือดออก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.ย. 2567 15:40 น.