กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของคนไทยเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมา คืออุบัติเหตุ และโรคหัวใจสำหรับมะเร็งในสตรีไทยพบมะเร็งที่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตมากที่สุด คือมะเร็งปากมดลูก จากรายงานของสำนักงานวิจัยมะเร็งนานาชาติ พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ประเทศไทยมีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ปีละ ๖,๑๙๒ ราย เสียชีวิต ๓,๑๖๖ ราย หรือประมาณร้อยละ ๕๐ ถ้าคิดคำนวณแล้วจะมีสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกวันละเกือบ ๙ ราย และพบมากที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่น ๆ มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถป้องกันได้ โดยการตรวจคัดกรองหาความผิดปกติ ในระยะเริ่มแรก และสามารถรักษาได้ผลดี       จากผลการดำเนินงานคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มอายุ ๓๐ - 7๐ ปี ของคลินิกใกล้ใจ โรงพยาบาลระโนด ปีงบประมาณ 2560 พบว่า สตรีอายุ 30 – 70 ปี ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก มีกลุ่มเป้าหมายในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ทั้งหมด 254 คน มีผู้เข้ารับการตรวจคัดกรอง 252 คน คิดเป็นร้อยละ 99.21 ผิดปกติ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.59 ในส่วนของมะเร็งปากมดลูกมีกลุ่มเป้าหมายในการตรวจคัดกรอง ทั้งหมด 200 คน มีผู้เข้ารับการตรวจคัดกรอง 164 คน คิดเป็นร้อยละ 82.00 ผิดปกติ 5 คน คิดเป็นร้อยละ 3.05 ซึ่งพบว่ายังเป็นปัญหาสำคัญเกี่ยวกับสาธารณสุข ดังนั้นทางชมรมพัฒนาสุขภาพตำบลท่าบอน จึงจัดทำโครงการ“สตรียุคใหม่รู้ทันภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก” พื้นที่หมู่ 1 และ หมู่ 2 ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปี ๒๕60 ขึ้น เพื่อลดอัตราป่วย ที่จะส่งผลกระทบต่อสภาวะสุขภาพของประชากรในพื้นที่ต่อไป

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ