โครงการคัดแยกขยะในโรงเรียน
ชื่อโครงการ | โครงการคัดแยกขยะในโรงเรียน |
รหัสโครงการ | 68-L2983-02-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านโผงโผง |
วันที่อนุมัติ | 5 กันยายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 4 ธันวาคม 2567 - 20 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 13,120.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายสาอารี โกะอาลี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.62,101.187place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันโรงเรียนบ้านโผงโผงที่มีจำนวนบุคลากรและนักเรียน จำนวน 150 คน ส่งผลให้ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมในด้านต่างๆ ของบุคลากรครูและนักเรียนเพิ่มมากขึ้นด้วยเช่นกัน ซึ่งทางโรงเรียนได้จัดตั้งภาชนะถังขยะรองรับตามจุดต่างๆ โดยขยะภายในอาคารเรียนให้บุคลากรประจำอาคารเป็นผู้จัดเก็บ ส่วนขยะจากพื้นที่อื่นๆ โดยรอบโรงเรียนให้บุคลากรพื้นที่จัดเก็บก่อนที่ทางองค์การบริหารส่วนตำบลปากล่อจะมารวบรวมเพื่อไปกำจัดมีมากขึ้น จากเหตุผลดังกล่าวอาจทำให้ส่งผลกระทบต่อการกำจัดขยะและสภาพแวดล้อมของโรงเรียนในอนาคตได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกให้กับบุคลากรและนักเรียน ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญถึงการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะ ซึ่งในการจัดทำโครงการขัดแย้งขยะในโรงเรียน จึงเป็นรูปแบบหนึ่งของการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะให้ถูกวิธี เพื่อให้โรงเรียนสะอาด มีระบบการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ และมีสภาพแวดล้อมที่ดีต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างจิตสำนึกในการจัดการขยะและรักษาสิ่งแวดล้อม ให้กับนักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียน นักเรียน เยาวชน ครูและบุคลากร มีจิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อม |
||
2 | เพื่อให้นักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียน เกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม นักเรียน เยาวชน ครูและบุคลากร เกิดความตระหนักถึงผลเสรยที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม |
||
3 | เพื่อให้โรงเรียนสะอาด น่าอยู่มีระบบการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพ โรงเรียนสะอาด น่าอยู่มีระบบการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพ |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
26 ธ.ค. 67 | อาหารกลางวันและเครื่องดื่ม | 90 | 5,400.00 | - | ||
26 ธ.ค. 67 | ค่าตอบแทนวิทยากร | 0 | 3,600.00 | - | ||
26 ธ.ค. 67 | ค่ายถ่ายเอกสารประกอบการอบรม | 0 | 720.00 | - | ||
28 ม.ค. 68 | 2.1 การจัดทำ ผลิตถังขยะเพื่อใช้ในโรงเรียน | 0 | 3,400.00 | - | ||
รวม | 90 | 13,120.00 | 0 | 0.00 |
- นักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียนเกิดแนวที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอย และเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่างๆ ว่าวัสดุบางประเภท สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้ง หรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้
- นักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภูมิปัญญาของบุคลากร หน่ยงานและองค์กรในท้องถิ่น
- นักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียนได้แนวทางและรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสำนึกด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สดคล้องกับสภาพปัญหาของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ต.ค. 2567 09:37 น.