โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุวดี จันกระจ่าง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-01-06 เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5205-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,530.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่มีจำนวนและสัดส่วนมากขึ้น จากประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการพัฒนาทางด้านการแพทย์ ทำให้อายุขัยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาว แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบ จากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย นำไปสู่การถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ หรือช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง พร้อมทั้งโรคที่มาตามวัย จากรายงานองค์การอนามัยโลกปีพ.ศ.๒๕๕๓ พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมทั่วโลกกว่า ๔๐๐ ล้านคน และคาดการณ์ว่าในปี ๒๕๖๓ จะเพิ่มขึ้นเป็น ๕๗๐ ล้านคน สอดคล้องกับประเทศไทยที่พบสถิติผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมกว่า ๖ ล้านคน โดยพบในผู้สูงอายุถึง ร้อยละ ๕๐ สถิติดังกล่าว
สะท้อนถึงความรุนแรงด้านการระบาดวิทยาของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองหรัง มีผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม
มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยจำนวน ร้อยละ ๑๐ ของผู้สูงอายุทั้งหมดในตำบลคลองหรัง ซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อตัวผู้ป่วย สังคม และเศรษฐกิจของประเทศชาติ
โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นปัญหาที่สำคัญ ซึ่งพบมากในวัยผู้สูงอายุและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม อาจทำให้มีความเจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ ไม่สะดวก มีความทุกข์ทรมาน ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อ ทั้งทางด้านรูปร่าง โครงสร้างการทำงานของกระดูกข้อต่อ และกระดูกบริเวณใกล้ข้อ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมและอาจมีความเสื่อมรุนแรงขึ้นตามลำดับ เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมในตำบลคลองหรัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรใกล้ตัวของคนในพื้นที่ และเพื่อถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
ดังนั้น กลุ่มงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองหรัง เห็นถึงความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมในตำบลคลองหรัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อประชาชนเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรใกล้ตัว และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ สืบทอด และอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ในตำบลคลองหรัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ
- ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรใกล้ตัวของคนในพื้นที่
- ข้อที่ 3 เพื่อถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
- 1.1 ให้ความรู้การบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
- 1.2 กิจกรรมพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมมีความรู้ สามารถในการใช้สมุนไพรใกล้ตัวในพื้นถิ่น เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- ประชาชนเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรใกล้ตัว และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ สืบทอด และอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ในตำบลคลองหรัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรใกล้ตัว และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ
80.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรใกล้ตัวของคนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถใช้สมุนไพรใกล้ตัว เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
80.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
ตัวชี้วัด : 3. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ สืบทอด และอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยร้อยละ 80
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ในตำบลคลองหรัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ (2) ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรใกล้ตัวของคนในพื้นที่ (3) ข้อที่ 3 เพื่อถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย (2) 1.1 ให้ความรู้การบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย (3) 1.2 กิจกรรมพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุวดี จันกระจ่าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุวดี จันกระจ่าง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-01-06 เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5205-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,530.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่มีจำนวนและสัดส่วนมากขึ้น จากประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการพัฒนาทางด้านการแพทย์ ทำให้อายุขัยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาว แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบ จากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย นำไปสู่การถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ หรือช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง พร้อมทั้งโรคที่มาตามวัย จากรายงานองค์การอนามัยโลกปีพ.ศ.๒๕๕๓ พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมทั่วโลกกว่า ๔๐๐ ล้านคน และคาดการณ์ว่าในปี ๒๕๖๓ จะเพิ่มขึ้นเป็น ๕๗๐ ล้านคน สอดคล้องกับประเทศไทยที่พบสถิติผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมกว่า ๖ ล้านคน โดยพบในผู้สูงอายุถึง ร้อยละ ๕๐ สถิติดังกล่าว
สะท้อนถึงความรุนแรงด้านการระบาดวิทยาของโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองหรัง มีผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม
มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยจำนวน ร้อยละ ๑๐ ของผู้สูงอายุทั้งหมดในตำบลคลองหรัง ซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อตัวผู้ป่วย สังคม และเศรษฐกิจของประเทศชาติ
โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นปัญหาที่สำคัญ ซึ่งพบมากในวัยผู้สูงอายุและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม อาจทำให้มีความเจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ ไม่สะดวก มีความทุกข์ทรมาน ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อ ทั้งทางด้านรูปร่าง โครงสร้างการทำงานของกระดูกข้อต่อ และกระดูกบริเวณใกล้ข้อ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมและอาจมีความเสื่อมรุนแรงขึ้นตามลำดับ เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมในตำบลคลองหรัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรใกล้ตัวของคนในพื้นที่ และเพื่อถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
ดังนั้น กลุ่มงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองหรัง เห็นถึงความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมในตำบลคลองหรัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อประชาชนเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรใกล้ตัว และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ สืบทอด และอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ในตำบลคลองหรัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ
- ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรใกล้ตัวของคนในพื้นที่
- ข้อที่ 3 เพื่อถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
- 1.1 ให้ความรู้การบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
- 1.2 กิจกรรมพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมมีความรู้ สามารถในการใช้สมุนไพรใกล้ตัวในพื้นถิ่น เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- ประชาชนเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรใกล้ตัว และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ สืบทอด และอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ในตำบลคลองหรัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยด้วยสมุนไพรใกล้ตัว และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ |
80.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรใกล้ตัวของคนในพื้นที่ ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถใช้สมุนไพรใกล้ตัว เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย |
80.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3 เพื่อถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย ตัวชี้วัด : 3. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ สืบทอด และอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยร้อยละ 80 |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ในตำบลคลองหรัง ได้รับการบำบัด รักษา และฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และลดปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะ (2) ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรใกล้ตัวของคนในพื้นที่ (3) ข้อที่ 3 เพื่อถ่ายทอดความรู้และการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย (2) 1.1 ให้ความรู้การบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย (3) 1.2 กิจกรรมพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพอกเข่าบรรเทาปวดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุวดี จันกระจ่าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......