กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอาหารปลอดภัยในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2568 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสนีดา เจ๊ะแม




ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัยในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L6961-1-05 เลขที่ข้อตกลง 3/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารปลอดภัยในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัยในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัยในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L6961-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหาร เป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ ที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ อันมีผลในการเสริมสร้างร่างกายและสติปัญญาตลอดจนสภาพจิตใจที่ดี ซึ่งการรณรงค์ให้คนไทยได้ตระหนักถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย มีความสำคัญมาก เนื่องจากสุขอนามัยของคนเรานั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กับการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางด้านโภชนาการเท่านั้น แต่อาหารที่ดีจะต้องสะอาด และปลอดภัยต่อผู้บริโภคด้วย สำหรับเดือนรอมฎอน เป็นเดือนแห่งการถือศีลอดของชาวมุสลิม ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่อำเภอสุไหงโก-ลก ทุก ๆ ปีของเดือนอันประเสริฐนี้ จะมีพ่อค้าแม่ค้ามาตั้งแผงลอยจำหน่ายอาหารบริเวณทางเท้า ริมถนน รอบ ๆ ตลาด และตามแหล่งชุมชนต่าง ๆ กันอย่างมากมาย แผงลอยจึงเป็นสถานที่จำหน่ายอาหารที่ประชาชนทั่วไป นิยมหาซื้ออาหารปรุงสำเร็จมาบริโภค เนื่องจากมีความสะดวกรวดเร็ว และมีราคาประหยัด อาหารเหล่านั้นอาจมีอัตราเสี่ยงจากการได้รับการปนเปื้อนจากเชื้อโรคและสิ่งสกปรก ก่อให้เกิดโรคแก่ผู้บริโภคได้ ซึ่งจากการดำเนินงานในปี 2567 ที่ผ่านมาพบว่า แผงลอยจำหน่ายอาหารร้อยละ 60 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร อีกทั้งการจำหน่ายอาหารดังกล่าวยังสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน ทั้งในเรื่องของการจารจร เหตุรำคาญจากกลิ่น ควัน ต่างๆ อีกด้วย ดังนั้นเพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับประทานอาหารที่สะอาด และปลอดภัย เพื่อจัดระเบียบและพัฒนาแผงลอยจำหน่ายอาหารต้อนรับเดือนรอมฎอมที่กำลังจะเข้ามาถึงเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ตระหนักถึงความสำคัญในการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยของประชาชน จึงได้จัดโครงการอาหารปลอดภัยในเดือนรอมฎอน ปี 2568 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในเดือนรอมฎอนมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง
  2. เพื่อจัดระเบียบและพัฒนาแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ผ่านเกณฑ์การประเมินตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมอบรมผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารเดือนรอมฎอน
  2. จัดระเบียบและตรวจแนะนำผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขาภิบาลอาหาร
  2. แผงลอยจำหน่ายอาหารมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
  3. แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์การประเมินตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมอบรมผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารเดือนรอมฎอน

วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร จำนวน 180 คน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ติดต่อประสานงานวิทยากรผู้รับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก และสาธารณสุขอำเภอสุไหงโก-ลก
2. ประชาสัมพันธ์โครงการและเปิดรับลงทะเบียนผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร ณ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
3. จัดประชุมอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร การลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหารและลดการใช้ถุงพลาสติก และชี้แจงหลักเกณฑ์เงื่อนไขต่างๆ ให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารเดือนรอมฎอน
4. สรุปผลการอบรมให้ความรู้ จากแบบสอบถามก่อน - หลัง
กำหนดการ
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน / ทำแบบสอบถามก่อนการอบรม
09.00 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร วิทยากรโดยผู้รับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารจากโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 16.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่องการลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหารและลดการใช้ถุงพลาสติก วิทยากรโดยผู้รับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารจากสาธารณสุขอำเภอสุไหงโก-ลก
16.00 - 16.30 น. ชี้แจงหลักเกณฑ์เงื่อนไขต่างๆ ให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารเดือนรอมฎอน วันที่ 21 มีนาคม 2566 / / ทำแบบสอบถามหลังการอบรม
งบประมาณ
- ค่าอาหารกลางวันวัน 60 บาท x 180 คน = 10,800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท x 180 คน x 2 มื้อ = 10,800 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท x 6 ชม. = 3,600 บาท
- ค่าวัสดุอุกรณ์ที่จำเป็นในการอบรม ได้แก่ สมุด กระดาษ ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 1,900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

2. จัดระเบียบและตรวจแนะนำผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร

วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1. วัดพื้นที่ จัดแบ่งล็อค และแบ่งโซน ทำผังบริเวณจำหน่ายอาหาร
2. ประสานงานกับเทศกิจ เพื่อดูแลรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยบริเวณสถานที่จำหน่ายอาหาร
3. ประสาน คปสอ.สุไหงโก-ลก เพื่อตรวจประเมินและให้คำแนะนำผู้ประกอบการตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร การพัฒนาแผงลอยจำหน่ายอาหารตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร
4. สรุปผลการตรวจประเมินตามแบบตรวจแผงลอยจำหน่ายอาหาร ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
งบประมาณ
- ค่าจัดทำไวนิลขนาด 1.22 x 4.63 เมตร จำนวน 1 ผืน x 2,150 บาท = 2,150 บาท
- ค่าสื่อประชาสัมพันธ์(ค่าจัดทำไวนิล) ขนาด 1 x 0.6 เมตร จำนวน 4 ผืน x 200 บาท = 800 บาท
หมายเหตุ : สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ควา่มรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในเดือนรอมฎอนมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 70
70.00 80.00

 

2 เพื่อจัดระเบียบและพัฒนาแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ผ่านเกณฑ์การประเมินตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : แผงลอยจำหน่ายอาหารมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยและผ่านเกณฑ์การประเมินตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารมากกว่าร้อยละ 100
70.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในเดือนรอมฎอนมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง (2) เพื่อจัดระเบียบและพัฒนาแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ผ่านเกณฑ์การประเมินตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมอบรมผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารเดือนรอมฎอน (2) จัดระเบียบและตรวจแนะนำผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารปลอดภัยในเดือนรอมฎอน ประจำปี 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L6961-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรุสนีดา เจ๊ะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด