กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์สร้างเสริมพลังสุขภาพจิตเข้มแข็งในชุมชน
รหัสโครงการ 68-L2983-02-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการอิสลามประจำมัสยิดอัลฮาญาติดดีนีย๊ะห์
วันที่อนุมัติ 5 กันยายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 มกราคม 2568 - 28 กุมภาพันธ์ 2568
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,920.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะดารี กะจิบือซา,นายสุลัยมาน จันทร์เทพ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.62,101.187place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ความเข้มแข็งของชุมชนมีรากฐานมาจากการที่ประชาชนมีสุขภาวะทั้งด้านร่างกายและจิตใจ แต่จากการดำเนินชีวิตในสังคมเมือง ส่งผลให้วิถีชีวิตคนในชุมชนขาดการออกกำลังกาย มีภาวะโภชนาการไม่เหมาะสม มีการใช้สารเสพติด บุหรี่และคาเฟอีนที่เข้มข้น รวมทั้งขาดการดูแลสุขภาพจิตใจที่ดี ส่งผลให้เกิดภาวะเครียดง่าย นำไปสู่การขาดความสามารถในการตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความเข้มแข็งของชุมชน การจัดทำโครงการรณรงค์สร้างเสริมพลังสุขภาพจิตเข้มแข็งในชุมชน เป็นการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต รวมทั้งลดการมีพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในชุมชน สร้างการตระหนักและเห็นคุณค่าของตนเอง รวมถึงการจัดการอารมณ์ เพื่อให้ประชาชนได้มีแนวทางในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการเสริมสร้างสุขภาพจิต ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพจิตตนเอง

ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพจิตของตนเอง โดยการสอบถาม สังเกต

2 เพื่อเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตและแนวทางในการจัดการอารมณ์

สามารถเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตและรู้แนวทางในการจัดการอารมณ์ตนเองและผู้อื่น

3 เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง

สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณม.ค. 68ก.พ. 68
1 1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ(20 ม.ค. 2568-20 ม.ค. 2568) 0.00    
2 2.คัดกรอง/คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย(20 ม.ค. 2568-20 ม.ค. 2568) 0.00    
3 3.จัดอบรม(31 ม.ค. 2568-31 ม.ค. 2568) 13,920.00    
4 4.รณรงค์ พูดคุย ตักเตือนทุกวันศุกร์(1 ก.พ. 2568-28 ก.พ. 2568) 0.00    
5 5.สรุปผลการดำเนินงาน(28 ก.พ. 2568-28 ก.พ. 2568) 0.00    
รวม 13,920.00
1 1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0 0
2 2.คัดกรอง/คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0 0
3 3.จัดอบรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 13,920.00 0 0.00 13,920.00
31 ม.ค. 68 ฝึกอบรมชุมชน 80 13,920.00 - -
4 4.รณรงค์ พูดคุย ตักเตือนทุกวันศุกร์ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0 0
5 5.สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0 0
รวมทั้งสิ้น 80 13,920.00 0 0.00 13,920.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถดูแลสร้างเสริมสุขภาพจิตตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ต.ค. 2567 13:31 น.