กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียงผู้สูงอายุติดบ้าน ”
ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายตอเละ สะรีบู




ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียงผู้สูงอายุติดบ้าน

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ ุ68-L2480-3-02 เลขที่ข้อตกลง 18/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียงผู้สูงอายุติดบ้าน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียงผู้สูงอายุติดบ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียงผู้สูงอายุติดบ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ุ68-L2480-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุติดบ้าน มีที่มาจากการตอบสนองต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้นในการดูแลผู้สูงอายุในสังคมไทย ซึ่งมีอัตราการเพิ่มจำนวนประชากรสูงอายุอย่างรวดเร็ว การมีผู้สูงอายุจำนวนมากที่ติดเตียงหรือมีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวและไม่สามารถดูแลตนเองได้ ทำให้เกิดความจำเป็นที่จะต้องมีผู้ดูแลที่มีทักษะและความรู้เพียงพอในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุเหล่านี้หนึ่งในปัจจัยที่สำคัญคือการส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวหรือชุมชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุอย่างถูกวิธี โดยโครงการนี้มุ่งเน้นการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการดูแลขั้นพื้นฐาน เช่น การเคลื่อนย้าย การให้ยาตามแพทย์สั่ง การจัดการสุขอนามัย รวมถึงการส่งเสริมการเยี่ยมเยียนเพื่อให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกโดดเดี่ยว และลดความเสี่ยงจากภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโครงการนี้ยังสอดคล้องกับนโยบายของรัฐในการสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Care) ซึ่งเน้นการให้บริการสุขภาพที่บ้านเพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ลดภาระของโรงพยาบาล และทำให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี จากการออกเยี่ยมผู้ป่วยเชิงรุกของเครือข่ายทุกภาคส่วนในตำบลมะรือโบออก พบผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงอัมพฤกษ์ อัมพาต ตลอดจนผู้พิการหลายรายช่วยเหลือตนเองไม่ได้ นอนติดเตียง มีแผลกดทับ บางรายมีอาการกล้ามเนื้อ อ่อนแรง การช่วยเหลือระยะแรก ใช้การแนะนำและสาธิตการทำกายภาพบำบัดให้แก่ผู้ดูแลซึ่งเป็นกิจกรรมที่ต้องทำอย่างสม่ำเสมอและเป็นระยะเวลายาวนานต่อเนื่องกัน จึงจะเห็นถึงความเปลี่ยนแปลง ดังนั้นกองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุจึงเล็งเห็นความสำคัญในการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยติดเตียงและการดูแลผู้สูงอายุติดบ้านที่เจ็บป่วยเรื้อรังไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เพื่อให้ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและถูกวิธีกองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุจึงจัดทำ“โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียงผู้สูงอายุติดบ้านประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565นี้ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเหล่านี้มีสุขภาพที่ดีขึ้นไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลและสมาชิกครอบครัวมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่ติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยติดเตียง ลดการเกิดแผลกดทับ ภาวะติดเชื้อ และปัญหาทางสุขภาพอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ติดเตียงเป็นเวลานาน
  3. เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ช่วยให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงสามารถใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีสุขภาพกายและจิตใจที่ดีขึ้น และลดความรู้สึกโดดเดี่ยว
  4. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ สร้างความเข้าใจในชุมชนและสังคมเกี่ยวกับความสำคัญของการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุติดบ้าน
  2. กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุติดบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมจะมีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านการดูแลทางกายภาพ สุขอนามัย โภชนาการ และสุขภาพจิต
  2. ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ลดความเสี่ยงจากการเกิดแผลกดทับ ภาวะแทรกซ้อน และภาวะซึมเศร้า
  3. ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดูแลในชุมชน โดยอาสาสมัครและสมาชิกในครอบครัวจะมีบทบาทในการเยี่ยมเยียนและดูแลผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่อง
  4. การเยี่ยมเยียนและการดูแลที่มีความใส่ใจจะช่วยเพิ่มความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกไม่ถูกทอดทิ้งและลดความรู้สึกโดดเดี่ยว
  5. ผู้ดูแลจะมีความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยมากขึ้น รวมถึงมีทักษะในการรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น ทำให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลและสมาชิกครอบครัวมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่ติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลและสมาชิกครอบครัวมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่ติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกต้องและเหมาะสม
100.00 80.00

 

2 เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยติดเตียง ลดการเกิดแผลกดทับ ภาวะติดเชื้อ และปัญหาทางสุขภาพอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ติดเตียงเป็นเวลานาน
ตัวชี้วัด : ลดการเกิดแผลกดทับ ภาวะติดเชื้อ และปัญหาทางสุขภาพอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ติดเตียงเป็นเวลานาน
100.00 80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ช่วยให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงสามารถใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีสุขภาพกายและจิตใจที่ดีขึ้น และลดความรู้สึกโดดเดี่ยว
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ช่วยให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงสามารถใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีสุขภาพกายและจิตใจที่ดีขึ้น และลดความรู้สึกโดดเดี่ยว
100.00 80.00

 

4 เพื่อสร้างความตระหนักรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ สร้างความเข้าใจในชุมชนและสังคมเกี่ยวกับความสำคัญของการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : สร้างความตระหนักรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ สร้างความเข้าใจในชุมชนและสังคมเกี่ยวกับความสำคัญของการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
100.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลและสมาชิกครอบครัวมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่ติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยติดเตียง  ลดการเกิดแผลกดทับ ภาวะติดเชื้อ และปัญหาทางสุขภาพอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ติดเตียงเป็นเวลานาน (3) เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง  ช่วยให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงสามารถใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีสุขภาพกายและจิตใจที่ดีขึ้น และลดความรู้สึกโดดเดี่ยว (4) เพื่อสร้างความตระหนักรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ  สร้างความเข้าใจในชุมชนและสังคมเกี่ยวกับความสำคัญของการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุติดบ้าน (2) กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุติดบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียงผู้สูงอายุติดบ้าน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ ุ68-L2480-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายตอเละ สะรีบู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด