โครงการเฝ้าระวังนักเรียนที่มีแนวโน้มเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวังนักเรียนที่มีแนวโน้มเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ |
รหัสโครงการ | 68-L2981-2-06 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านควนประ |
วันที่อนุมัติ | 29 ตุลาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 30,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอับดุลคอเล็บ สาเม๊าะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางฟาฏิมะฮ จารู |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงเรียนบ้านควนประ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าและมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต การพัฒนาเด็กให้ได้รับความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงนับเป็นสิ่งสำคัญของหน่วยงานซึ่งรับผิดชอบจะต้อวตระหนัก และให้ความสนใจเพื่อการพัฒนาเด็กเป็นไปอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานเหมาะสมกับวัย ปัจจุบันเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านควนประ ส่วมมากมีผู้ปกครองประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือกรีดยางพารา ซึ่งต้องทำงานตั้งแต่กลางคืนจนถึงกลางวัน โดยเฉพาะในช่วงเช้าที่ต้องส่งลูกไปโรงเรียนมักเป็นเวลาต้องเก็บน้ำยาง ทำให้การเอาใจใส่ลูกเรื่องการกินอาหารเช้าไม่ค่อยสมบูรณ์ เด็กส่วนมากไม่ได้รับอาหารเช้าก่อนมาเรียน ทำให้ขาดการเตรียมพร้อมสำหรับเด็กที่ควรได้รับสารอาหาร โดยเฉพาะอาหารเช้าซึ่งเป็นมื้อสำคัญสำหรับเด็กที่กำลังเจริญเติบโต เป็นภาวะเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการในเด็ก และการพัฒนาทางด้านร่างกายของเด็กเป็นไปอย่างล่าช้าได้ จากการประเมินภาวะทุพโภชาการของนักเรียนโรงเรียนบ้านควนประ พบว่า เมื่อเปรียบเทียบน้ำหนักกับส่วนสูงนักเรียนต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นโรงเรียนบ้านควนประ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการส่งเสริมด้านโภชนาการให้แก่เด็ก อันเป็นการส่งเสริมการพัฒนาทางด้านร่างกายให้แก่เด็ก ให้ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน (เด็กและเยาวชน) ให้เก่ง ดี มีความสุข ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจและสติปัญญาต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการให้ได้รับประทานอาหารเสริมที่มีคุณค่า และปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการให้ได้รับประทานอาหารเสริมที่มีคุณค่า และปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย |
30.00 | 30.00 |
2 | เพื่อแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน |
30.00 | 30.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 30,000.00 | 0 | 0.00 | |
1 พ.ย. 67 - 30 ก.ย. 68 | จัดหาอาหารเช้าให้นักเรียนที่มีน้ำหนักส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน | 0 | 30,000.00 | - |
นักเรียนที่มีแนวโน้มเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการทุกคนได้รับอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ต.ค. 2567 11:05 น.