โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสุพรรัตน์ มานพศิลป์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-02-04 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5205-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากผลการตรวจสภาวะช่องปากนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนบ้านต้นปริงในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 พบว่านักเรียนมีฟันผุในระดับปฐมวัย ร้อยละ 40.00 และในระดับประถมศึกษาที่นักเรียนมีฟันแท้ผุคิดเป็นร้อยละ 9.52 ฟันน้ำนมผุคิดเป็นร้อยละ 52.38 เมื่อมีการตรวจประสิทธิภาพการแปรงฟัน พบว่า นักเรียนแปรงฟันสะอาด ร้อยละ 16.61 ซึ่งจัดว่าเป็นปัญหาที่ทางทันตสุขภาพ ช่องปากเป็นประตูสำคัญของสุขภาพ สุขภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลมีสุขภาพดี จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่วัยเด็ก การเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กวัยประถมศึกษา สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการประถมศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้พร้อมที่จะทำประโยชน์ให้สังคม ตามบทบาทและหน้าที่ของตน โดยผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจสามารถครองชีวิตอย่างเป็นสุข
ด้วยเหตุนี้ การจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชน จึงกลายเป็นเงื่อนไขสำคัญ ที่จะใช้ในการรณรงค์และกระตุ้นความสนใจของครู นักเรียน ผู้ปกครองและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ในปีงบประมาณ 2568 โรงเรียนบ้านต้นปริง จึงจัดกิจกรรม “ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ” ขึ้น โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพทั้งที่เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตร และกิจกรรมที่จัดขึ้นเพิ่มเติม ให้สอดคล้องกับลักษณะปัญหาหรือศักยภาพเฉพาะของแต่ละพื้นที่ ตามความเหมาะสมกับความจำเป็นและความต้องการของแต่ละพื้นที่ เพื่อทันตสุขภาพและสุขภาพโดยรวมที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านทันต สุขภาพที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
- ส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง และก่อนนอน
- นักเรียนมีสภาวะสุขภาพปากช่องปากดีที่ขึ้น
- นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปาก และฟัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ
- กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ “ Walk Rally”
- กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแปรงฟัน
- กิจกรรมบูรณาการการเรียนการสอน “ฟันดีสุขภาพดี ”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
56
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน มีความรู้ด้านทันตสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
- นักเรียน มีทัศนคติที่ดีในการดูแลรักษาสุขภาพช่องปาก
- นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปากและฟัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านทันต สุขภาพที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : นักเรียน มีความรู้ด้านทันตสุขภาพร้อยละ 80 นักเรียน สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
80.00
2
ส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง และก่อนนอน
ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 ส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทาน อาหารเที่ยงและก่อนนอน
80.00
3
นักเรียนมีสภาวะสุขภาพปากช่องปากดีที่ขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 นักเรียนมีสภาวะสุขภาพปากช่อง ปากดีที่ขึ้น
80.00
4
นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปาก และฟัน
ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาด ภายในช่องปากและฟัน
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
56
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
56
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านทันต สุขภาพที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ (2) ส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง และก่อนนอน (3) นักเรียนมีสภาวะสุขภาพปากช่องปากดีที่ขึ้น (4) นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปาก และฟัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ (2) กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ “ Walk Rally” (3) กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแปรงฟัน (4) กิจกรรมบูรณาการการเรียนการสอน “ฟันดีสุขภาพดี ”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุพรรัตน์ มานพศิลป์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสุพรรัตน์ มานพศิลป์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-02-04 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5205-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากผลการตรวจสภาวะช่องปากนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนบ้านต้นปริงในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 พบว่านักเรียนมีฟันผุในระดับปฐมวัย ร้อยละ 40.00 และในระดับประถมศึกษาที่นักเรียนมีฟันแท้ผุคิดเป็นร้อยละ 9.52 ฟันน้ำนมผุคิดเป็นร้อยละ 52.38 เมื่อมีการตรวจประสิทธิภาพการแปรงฟัน พบว่า นักเรียนแปรงฟันสะอาด ร้อยละ 16.61 ซึ่งจัดว่าเป็นปัญหาที่ทางทันตสุขภาพ ช่องปากเป็นประตูสำคัญของสุขภาพ สุขภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลมีสุขภาพดี จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่วัยเด็ก การเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กวัยประถมศึกษา สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการประถมศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้พร้อมที่จะทำประโยชน์ให้สังคม ตามบทบาทและหน้าที่ของตน โดยผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจสามารถครองชีวิตอย่างเป็นสุข
ด้วยเหตุนี้ การจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชน จึงกลายเป็นเงื่อนไขสำคัญ ที่จะใช้ในการรณรงค์และกระตุ้นความสนใจของครู นักเรียน ผู้ปกครองและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ในปีงบประมาณ 2568 โรงเรียนบ้านต้นปริง จึงจัดกิจกรรม “ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ” ขึ้น โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพทั้งที่เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตร และกิจกรรมที่จัดขึ้นเพิ่มเติม ให้สอดคล้องกับลักษณะปัญหาหรือศักยภาพเฉพาะของแต่ละพื้นที่ ตามความเหมาะสมกับความจำเป็นและความต้องการของแต่ละพื้นที่ เพื่อทันตสุขภาพและสุขภาพโดยรวมที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านทันต สุขภาพที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
- ส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง และก่อนนอน
- นักเรียนมีสภาวะสุขภาพปากช่องปากดีที่ขึ้น
- นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปาก และฟัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ
- กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ “ Walk Rally”
- กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแปรงฟัน
- กิจกรรมบูรณาการการเรียนการสอน “ฟันดีสุขภาพดี ”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 56 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน มีความรู้ด้านทันตสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
- นักเรียน มีทัศนคติที่ดีในการดูแลรักษาสุขภาพช่องปาก
- นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปากและฟัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านทันต สุขภาพที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : นักเรียน มีความรู้ด้านทันตสุขภาพร้อยละ 80 นักเรียน สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ |
80.00 |
|
||
2 | ส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง และก่อนนอน ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 ส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทาน อาหารเที่ยงและก่อนนอน |
80.00 |
|
||
3 | นักเรียนมีสภาวะสุขภาพปากช่องปากดีที่ขึ้น ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 นักเรียนมีสภาวะสุขภาพปากช่อง ปากดีที่ขึ้น |
80.00 |
|
||
4 | นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปาก และฟัน ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 80 นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาด ภายในช่องปากและฟัน |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 56 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 56 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้ด้านทันต สุขภาพที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ (2) ส่งเสริมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง และก่อนนอน (3) นักเรียนมีสภาวะสุขภาพปากช่องปากดีที่ขึ้น (4) นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปาก และฟัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ (2) กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ “ Walk Rally” (3) กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแปรงฟัน (4) กิจกรรมบูรณาการการเรียนการสอน “ฟันดีสุขภาพดี ”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุพรรัตน์ มานพศิลป์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......