โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพด้วยตารางเก้าช่อง หมู่ที่ 3 บ้านใหม่
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพด้วยตารางเก้าช่อง หมู่ที่ 3 บ้านใหม่ |
รหัสโครงการ | 68-L5205-02-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กลุ่มรักษ์สุขภาพ หมู่ที่ 3 บ้านใหม่ |
วันที่อนุมัติ | 26 กันยายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 11,912.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายจำลอง ขุนเพ็ชร |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.924,100.591place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
พฤติกรรมของมนุษย์เป็นสื่อที่แสดงออกถึงการทำงานของสมองหรือระบบประสาท ซึ่งแยกออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ พฤติกรรมที่อยู่เหนือการควบคุมของจิตใจ เช่น อาการสะดุ้ง ตกใจแลพฤติกรรมที่อยู่ภายใต้การควบคุมของจิตใจ เช่น การอ่าน เขียน ฟัง พูด ตลอดจนการเคลื่อนไหวต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตามที่สมองเคยได้รับการฝึกหรือเรียนรู้มา ดังนั้น การกระตุ้นให้ร่างกายได้ปฏิบัติการเคลื่อนไหวรูปแบบใด รูปแบบหนึ่ง หรือหลายหลายรูปแบบอย่างเป็นระบบตามลำดับขั้นตอน จะช่วยนำไปสู่การปรับตัวและการพัฒนาของสมอง จากแนวคิดข้างต้น รศ.เจริญ กระบวนรัตน์ อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์การกีฬามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้นำไปคิดค้น "ตารางเก้าช่อง "อุปกรณ์ที่ช่วยในการพัฒนาสมองเพื่อฝึกปฏิกิริยารับรู้และตอบสนองต่อการเคลื่อนไหว ระบบประสาทดังกล่าวนี้ จะเน้นความถูกต้องแม่นยำในการเคลื่อนไหวเป็นสำคัญตาราง 9 ช่อง จะช่วยพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ รับรู้ สมาธิในการทำกิจกรรม การทำงานของระบบประสาท และการเรียนรู้การจำของสมอง ทั้งยังเป็นการสร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ พัฒนาสมองและส่งเสริมสุขภาพร่างกาย จิตใจฝึกสมาธิในการทำกิจกรรม และฝึกปฏิกิริยารับรู้ และตอบสนองต่อการเคลื่อนไหวให้แก่ผู้สูงอายุในพื้นที่
ดังนั้น กลุ่มรักษ์สุขภาพ หมู่ที่ 3 บ้านใหม่ ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อการมีสุขภาพที่ดีของประชาชน ทำให้ห่างไกลจากโรคภัยต่าง ๆ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพด้วยตารางเก้าช่อง หมู่ที่ 3 ประจำปี 2568 ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. มากขึ้น ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. มากขึ้น |
90.00 | |
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการออกกำลังกายด้วยตารางเก้าช่องที่ถูกวิธี ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการออกกำลังกายด้วยตารางเก้าช่องที่ถูกวิธี |
20.00 | |
3 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม เกิดบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ไม่น้อยกว่า 5 คน |
5.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ต.ค. 67 | พ.ย. 67 | ธ.ค. 67 | ม.ค. 68 | ก.พ. 68 | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ(1 ต.ค. 2567-30 พ.ย. 2567) | 8,430.00 | ||||||||||||
2 | กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้(1 พ.ย. 2567-30 พ.ย. 2567) | 3,482.00 | ||||||||||||
3 | กิจกรรมส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ(10 พ.ย. 2567-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | ||||||||||||
4 | กิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง(1 ก.พ. 2568-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | ||||||||||||
5 | กิจกรรมประเมินผลภาวะสุขภาพ(1 ก.ย. 2568-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | ||||||||||||
รวม | 11,912.00 |
1 กิจกรรมสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 20 | 8,430.00 | 0 | 0.00 | 8,430.00 | |
1 - 30 พ.ย. 67 | สำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ | 20 | 8,430.00 | - | - | ||
2 กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 20 | 3,482.00 | 0 | 0.00 | 3,482.00 | |
10 พ.ย. 67 | อบรมให้ความรู้ | 20 | 3,482.00 | - | - | ||
3 กิจกรรมส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
4 กิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
5 กิจกรรมประเมินผลภาวะสุขภาพ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
รวมทั้งสิ้น | 40 | 11,912.00 | 0 | 0.00 | 11,912.00 |
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่อง 3 อ. อาหาร การออกกำลังกาย และอารมณ์ที่เหมาะสม
- ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นแบบอย่างที่ดี และมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ควบคุมน้ำหนักตัว ให้มีรอบเอวที่เหมาะสม และสามารถถ่ายทอดความรู้แก่ผู้อื่นได้
- ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงการดูแลสุขภาพ และมีสุขภาพที่ดีขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2567 09:13 น.