กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โรงเรียนปลอดขยะ (zero waste school)
รหัสโครงการ 2568-L3362-02-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านขัน
วันที่อนุมัติ 18 ธันวาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 19,440.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอวยพร สุธีบุตร
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวจุฑามาศ ทับชุม
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านขัน ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มวัยทำงาน 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาที่รุนแรงมากขึ้นทุกวัน ส่วนหนึ่งมาจากขยะ ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชน โรงเรียนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนและโรงเรียนเอง เป็นแหล่งของอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรคจากสัตว์ชนิดต่างๆ เช่น หนู แมลงวัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนครูบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการลดการคัดแยกขยะและการนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่

ครู และบุคลากรในโรงเรียนร้อยละ 100 มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการลดการคัดแยกขยะและการนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่

80.00 95.00
2 เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาเห็นความสำคัญและสามารถปฏิบัติได้ในเรื่องการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่

นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาเห็นความสำคัญและสามารถปฏิบัติได้ในเรื่องการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่

70.00 90.00
3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย

โรงเรียนมีระบบการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย

80.00 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ม.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 อบรมให้ความรู้ เรื่อง ประโยชน์ วิธีการ การคัดแยกขยะประเภทต่างๆ 0 7,600.00 7,600.00
1 ม.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 โรงเรียนปลอดขยะ (zero waste school) 0 11,840.00 11,840.00
รวม 0 19,440.00 2 19,440.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ มีจิตสำนึกและมีความตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยและสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับชุมชนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งที่ยั่งยืน
    1. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญของการของการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่และนำมาใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งให้ความร่วมมือในกิจกรรมจากโครงการโรงเรียนปลอดขยะที่โรงเรียนจัดทำขึ้น
    2. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น สวยงาม ปลอดขยะ และมีบรรยากาศวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2567 09:44 น.