กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการวัยใส ห่างไกลยาเสพติด ”
ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายอักรอม ดือราแม




ชื่อโครงการ โครงการวัยใส ห่างไกลยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 04/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยใส ห่างไกลยาเสพติด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยใส ห่างไกลยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยใส ห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลได้กำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลักผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่ามีเด็กและเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากที่สุด

จากข้อมูลรายงานของ United Nations Office on Drugs and Crime (UNODC) ในปี 2563 พบว่ากลุ่มเด็กและเยาวชนใช้สารเสพติดเพิ่มสูงขึ้น และมีการใช้สารเสพติดในปริมาณที่มากกว่าผู้ใหญ่ นอกจากนี้ผู้ติดยาเสพติดมีแนวโน้มที่จะมีอายุน้อยลงเรื่อย ๆ โดยปัจจัยที่ทำให้เยาวชนเข้าถึงยาเสพติดได้ง่าย ๆ มาจากยาเสพติดมีราคาถูกลง และกลุ่มเยาวชนถือได้ว่าเป็นกลุ่มอายุเป้าหมายของมิจฉาชีพ เพราะหากถูกจับกุมจะไม่ได้รับโทษเท่ากับผู้ใหญ่ โดยลักษณะของการค้ายาเสพติดมักจะมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า และมีการนัดสถานที่เพื่อรับยาเสพติด จากข้อมูลการเข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดในปี 2564 พบว่่า “ยาบ้า” แพร่ระบาดมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 75 รองลงมาคือ ยาไอซ์ ร้อยละ 8.6 กัญชาแห้ง ร้อยละ 4.7 และเฮโรอีน ร้อยละ 3.9 ตามลำดับ ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดินที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด

ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา ได้เห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จึงจัดทำโครงการวัยใส ห่างไกลยาเสพติดขึ้น เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทย และป้องกันการเกิดนักเสพหน้าใหม่ขึ้นในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดให้กับผู้ปกครอง เด็กและเยาวชนในพื้นที่ตำบลบือมัง
  2. เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนและแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการตามโครงการ
  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโทษของยาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชน
  3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโทษของยาเสพติดให้กับผู้ปกครองเด็กและเยาวชน
  4. รณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในโรงเรียนและชุมชน
  5. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มผู้ปกครองเด็กและเยาวชน 80
คณะกรรมการดำเนินการตามโครงการ 25

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโทษของยาเสพติด
  2. กลุ่มเป้าหมายร่วมกันรณรงค์ ต่อต้านยาเสพติดทั้งในโรงเรียนและชุมชน เพื่อให้เป็นชุมชนที่ปลอดยาเสพติด
  3. สามารถลดจำนวนนักเสพหน้าใหม่ในกลุ่มเด็กและเยาวชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดให้กับผู้ปกครอง เด็กและเยาวชนในพื้นที่ตำบลบือมัง
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรมร้อยละ 80 2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในโรงเรียนและชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 185
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มผู้ปกครองเด็กและเยาวชน 80
คณะกรรมการดำเนินการตามโครงการ 25

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดให้กับผู้ปกครอง เด็กและเยาวชนในพื้นที่ตำบลบือมัง (2) เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนและแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการตามโครงการ (2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโทษของยาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชน (3) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโทษของยาเสพติดให้กับผู้ปกครองเด็กและเยาวชน (4) รณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในโรงเรียนและชุมชน (5) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยใส ห่างไกลยาเสพติด จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอักรอม ดือราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด