กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลสุไหงปาดี ”
ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายยูโซ๊ฟ ดอเลาะ




ชื่อโครงการ โครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลสุไหงปาดี

ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2543-5-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 30 เมษายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลสุไหงปาดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลสุไหงปาดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2543-5-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 69,793.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนักและยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศ สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ปัญหาโรคไข้เลือดออกยังคงคุกคามชีวิตประชาชนชาวไทยคือการที่ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของโรคไข้เลือดออก และการไม่มีพฤติกรรมตื่นตัวร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อันอาจมีสาเหตุเนื่องมาจากการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสาธารณสุขยังไม่ครอบคลุมถึงทุกครัวเรือนเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและวิธีปฏิบัติตนให้แก่ประชาชนในการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.สุไหงปาดีจึงได้จัดทำโครงการ ประชาสัมพันธ์ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลสุไหงปาดี เพื่อรณรงค์ ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้นในพื้นที่ตำบลสุไหงปาดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การทำลายแหล่งเพาะพันธู์ลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค
  2. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลสุไหงปาดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้อสม.ตำบลสุไหงปาดี
  2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และกำจัดยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 117
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในพื้นที่ มีวิธีการป้องกันลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคโรคไข้เลือดออก อย่างถูกวิธี
2.ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลสุไหงปาดี ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้อสม.ตำบลสุไหงปาดี

วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการฯ  117 คน
  • กล่าวรายงาน  โดย นายยูโซ๊ฟ  ดอเลาะ  นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
  • เปิดโครงการฯ โดย นายเพียร มะโนภักดิ์  นายกองค์การบริหารส่วนตำบลสุไหงปาดี
  • กิจกรรมอบรมให้ความรู้ จำนวน 5 เรื่อง ดังนี้ 1.  สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปัจจุบัน
    2.  ความรู้เรื่อง โรคไข้เลือดออก 3.  วิธีการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 4.  วิธีการปฏิบัติตัวเมื่อสงสัยว่าเป็นโรคไข้เลือดออก 5.  วิธีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน และชุมชน วิทยากรให้ความรู้ โดย นายบาฮารูเด็ง ดือมาวี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ  โรงพยาบาลสุไหงปาดี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ความเข้าเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก สามารถป้องกัน และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้อย่างถูกต้อง

 

117 0

2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 15 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • เดินรณรงค์เริ่มจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุไหงปาดี ถึง ลานหน้าวัด        ประชุม  ชลธารา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในพื้นที่ตำบลสุไหงปาดี มีความรู้ เกิดความตื่นตัวและตระหนักถึงพิษภัยของโรคไข้เลือดออก

 

117 0

3. ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และกำจัดยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 17 มกราคม 2568 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่ควบคุม ป้องกัน และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ ด้วยการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย และเททรายอะเบตกำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ที่มีน้ำขัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมชนในพื้นที่ตำบลสุไหงปาดี ได้รับการควบคุม แล้ป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

117 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การทำลายแหล่งเพาะพันธู์ลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่ มีวิธีการป้องกันลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคโรคไข้เลือดออก อย่างถูกวิธี ร้อยละ 80
80.00 60.00 80.00

ประชาชนในพื้นที่ตำบลสุไหงปาดี มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค โรคไข้เลือดออก อย่างถูกวิธี

2 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลสุไหงปาดี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลสุไหงปาดี ลดลง ร้อยละ 70
70.00 30.00 70.00

มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ตำบลสุไหงปาดีลดลง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 117 117
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 117 117
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การทำลายแหล่งเพาะพันธู์ลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค (2) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลสุไหงปาดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้อสม.ตำบลสุไหงปาดี (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และกำจัดยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลสุไหงปาดี จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2543-5-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยูโซ๊ฟ ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด