โครงการบริหารจัดการและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุคิริน
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารจัดการและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุคิริน |
รหัสโครงการ | 68-L8281-4-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลสุคิริน |
วันที่อนุมัติ | 21 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 59,475.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายชัชวาล ไพจิตร |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอายิ หะมาดุลลาห์ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 5.916922,101.718464place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 21 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด) | 9.00 | ||
2 | จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน) | 21.00 | ||
3 | จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา) | 4.00 | ||
4 | จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ) | 100.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ข้อ 2 พัฒนาระบบบริหารจัดการและระบบบริการด้านสุขภาพให้มีมาตรฐานในระบบหลักประกันสุขภาพ รวมทังการส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานการกำกับสถานบริการด้านสุขภาพทั้งภาครัฐและเอกชนให้มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด และข้อ 7 สร้างความเข้มแข็งในการมีส่วนร่วมของกระบวนการสุขภาพภาคประชาชน รวมทั้งพัฒนามาตรการที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การพัฒนาด้านสุขภาพในปัจจุบันต้องอาศัยภาคีพันธมิตรทุกภาคส่วนในทุกระดับทุกพื้นที่ และเพื่อทำให้เกิดการเชื่อมโยงการทำงานระหว่างภาคีพันธมิตรทุกภาคส่วน และลดความซ้ำซ้อนในระบบการทำงานทั้งด้านงบประมาณ พื้นที่เป้าหมาย ดังนั้นเพื่อเป็นการสนับสนุนการดำเนินงานสุขภาพ ภาคประชาชนและสร้างความเข้มแข็งในการมีส่วนร่วมของกระบวนการสุขภาพภาคประชาชน จึงเห็นควรส่งเสริมให้องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนมีการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยงเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ขององค์กรต่างๆทั้งภาครัฐ เอกชนและประชาชน ซึ่งจะทำให้การพัฒนาเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เกิดการเสริมพลังในการพัฒนาด้านสุขภาพในชุมชน การมีส่วนร่วมของประชาชนมีความสำคัญต่อการพัฒนาชุมชนเป็นอย่างยิ่งเพราะการพัฒนาจะได้รับความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง และกระบวนการดำเนินงานจะทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ความสำเร็จจะยั่งยืนกว่าการพัฒนาโดยภาครัฐเพียงภาคเดียว จากแนวคิดการพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่10 ของกระทรวงสาธารณะสุข ที่ประกอบด้วยประเด็นยุทธศาสตร์หลักในการสร้างวัฒนธรรมสุขภาพพอเพียง เพื่อสังคมแห่งสุขภาวะ โดยการเสริมสร้างระบบสุขภาพชุมชนให้เข้มแข็งอย่างพอเพียง พึ่งตนเองและพึ่งพากันได้อย่างเกื้อกูลเพื่อให้เกิดสังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันภายใต้ปรัชญาเศรฐกิจพอเพียงบนฐานคิด“สุขภาพดีมาจากสังคมดี” คือ สังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข และพ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550มาตรา 47 กำหนดให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติดำเนินงานหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่ ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น โดยกำหนดให้องค์กรปกครองส่วนตำบล (อบต.) และเทศบาล ได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน) |
21.00 | 21.00 |
2 | เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 % |
9.00 | 95.00 |
3 | เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ) |
100.00 | 100.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 40 | 59,475.00 | 2 | 10,900.00 | |
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ | 0 | 41,700.00 | ✔ | 8,550.00 | |
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | จัดประชุมอนุกรรมการกองทุน LTC | 0 | 8,900.00 | - | ||
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | จัดประชุมคณะทำงานคัดกรองและติดตามประเมินผลโครงการ | 0 | 3,600.00 | - | ||
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรม พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนและคณะอนุกรรมการกองทุนฯ | 40 | 2,800.00 | ✔ | 2,350.00 | |
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | วัสดุกองทุน | 0 | 2,475.00 | - |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ต.ค. 2567 00:00 น.