โครงการวัยเรียนวัยใส ห่างไกลยาเสพติด ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการวัยเรียนวัยใส ห่างไกลยาเสพติด ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L8367-02-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลจะนะ |
วันที่อนุมัติ | 10 ตุลาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางจีรานา หีมสุวรรณ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 20,000.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | สารเสพติดที่ตรวจพบส่วนใหญ่ คือ เมทแอมเฟตามีน นอกจากนี้พบว่าอายุเฉลี่ยที่ตรวจพบการใช้ยาเกินขนาด คือ 36 ปี และ 6 อายุน้อยสุด คือ 19 ปีซึ่งใกล้เคียงกับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (อายุน้อยสุด คือ 18 ปี) นอกจากนี้พบการใช้สารเสพติดร่วมกันตั้งแต่ 2 ชนิด ขึ้นไป คิดเป | 0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
“การดูแลป้องกันเยาวชนให้ห่างไกลยาเสพติด ต้องพยายามสร้างมาตรการทางสังคม ในการที่จะช่วยป้องกันปัญหายาเสพติดในวัยรุ่น เนื่องจากยาเสพติดได้เข้ามาชักจูงหรือครอบงำวัยรุ่นได้ง่าย เพราะทัศนคติที่ถูกปลูกฝังในเด็กเยาวชนว่าแน่หรือเปล่า เมื่อเสพยาแล้วก็จะแน่ จะเท่ จะเป็นแมน จะเป็นคนกล้า การท้าทายกันแบบนี้ทำให้เด็กมีค่านิยมที่ผิดไป เมื่อมีค่านิยมที่ผิด ก็ต้องเปลี่ยนค่านิยมใหม่ เปลี่ยนทัศนคติใหม่” “ในการแก้ปัญหายาเสพติดสำหรับเยาวชนนั้น ต้องสร้างภูมิคุ้มกันอย่างเข้าใจถึงจิตใจ ความต้องการของเขา เพราะบางครั้งการเกิดปัญหายาเสพติดก็มาจากหลายสาเหตุ เราต้องสร้างค่านิยมใหม่ ต้องสร้างความมั่นใจให้เขารู้สึกดีกับตัวเอง ให้เขาได้สนุกโดยพยายามหากิจกรรมต่าง ๆมาใช้ เช่น ดนตรี กีฬา สิ่งเหล่านี้ทำให้คนมีสังคม มีร่างกายแข็งแรง มีสุขภาพจิตดี เป็นสิ่งที่คนรุ่นใหม่ควรมาร่วมด้วยกัน”
“การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดจากสังคมไทย ไม่สามารถดำเนินการให้สำเร็จได้ด้วยการทำงานขององค์กรใดองค์กรหนึ่ง แต่ทุกองค์กร ทุกฝ่ายต้องช่วยกัน และการรวมตัวกันของผู้ที่มีความตั้งใจที่จะไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด จะทำให้เกิดพลังในการร่วมกันป้องกันปัญหายาเสพติดอย่างเข้มแข็ง”
พระดำรัสทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
ดังนั้น ชมรม อสม.ตำบลจะนะ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหายาเสพติดในชุมชน เพื่อปลูกฝังให้เด็กสามารถสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง ครอบครัว และชุมชนได้ จึงได้จัดทำโครงการวัยเรียนวัยใส ห่างไกลยาเสพติด ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องยาเสพติด กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องยาเสพติดมากกว่าร้อยละ 80 |
||
2 | ส่งเสริมให้ประชาชนสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง ครอบครัว และชุมชน กลุ่มเป้าหมายสามารถ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง ครอบครัว และชุมชนได้มากกว่าร้อยละ 80 |
||
3 | เพื่อให้เกิดชุมชนปลอดยาเสพติด เกิดชุมชนปลอดยาเสพติด |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องยาเสพติดมากกว่าร้อยละ ๘๐ 2.กลุ่มเป้าหมายสามารถ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง ครอบครัว และชุมชนได้ 3.เกิดชุมชนปลอดยาเสพติด
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ต.ค. 2567 15:58 น.