โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมใจ จางวาง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7252-05-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L7252-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 1 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็ว สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่นโรคติดต่อทางระบบหายใจ (ไข้หวัดใหญ่) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก) โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ (อุจจาระร่วง) และโรคติดต่ออื่น ๆ (มือ เท้า ปาก ฉี่หนู) และโรคอุบัติใหม่ที่ระบาดไปทั่วโลกในปัจจุบันนี้ โดยประชาชนจะต้องทราบสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสียงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมจากภาคท้องถิ่นและภาคประชาชนวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ โดยการดำเนินงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ” ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหาจึงจะสามารถแก้ไขต้นตอของปัญหาการเกิดโรค ประชาชนต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ภายใต้ศักยภาพพื้นที่ของตนเอง หน่วยงานเกี่ยวข้องทุกระดับให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของพื้นที่เป็นหลัก สามารถเชื่อมโยงผสมผสานแนวคิด องค์ความรู้ เข้ากับบริบทของพื้นที่ จึงจะทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไปในอนาคต
จากปัญหาดังกล่าวนอกจากเป็นภัยต่อสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจการเมือง รวมทั้งส่งผลกระทบต่อหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ซึ่งมีหน้าที่ในการเฝ้าระวังป้องกัน และแก้ไขปัญหาจำเป็นจะต้องเตรียมการในเรื่องดังกล่าวให้ทันต่อเหตุการณ์หรือสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น แต่เนื่องจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ จึงจำเป็นจะต้องจัดเตรียมงบประมาณ บุคลากร และเครื่องมือ เพื่อใช้ในการดำเนินงานดังกล่าวในการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้สามารถดำเนินการ/สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ
- 2 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคหรือภัยพิบัติให้อยู่ในวงจำกัด ไม่มีการระบาดเพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.๑ ประชาชนในพื้นที่ระบาดหรือมีภัยพิบัติเกิดขึ้น สามารถรู้จักป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคระบาด หรือภัยพิบัติได้อย่างถูกต้อง
8.๒ ลดอัตราการป่วยหรือตายจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อให้สามารถดำเนินการ/สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
2
2 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคหรือภัยพิบัติให้อยู่ในวงจำกัด ไม่มีการระบาดเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้สามารถดำเนินการ/สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ (2) 2 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคหรือภัยพิบัติให้อยู่ในวงจำกัด ไม่มีการระบาดเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7252-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสมใจ จางวาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมใจ จางวาง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7252-05-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L7252-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 1 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็ว สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่นโรคติดต่อทางระบบหายใจ (ไข้หวัดใหญ่) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก) โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ (อุจจาระร่วง) และโรคติดต่ออื่น ๆ (มือ เท้า ปาก ฉี่หนู) และโรคอุบัติใหม่ที่ระบาดไปทั่วโลกในปัจจุบันนี้ โดยประชาชนจะต้องทราบสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสียงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมจากภาคท้องถิ่นและภาคประชาชนวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ โดยการดำเนินงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ” ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหาจึงจะสามารถแก้ไขต้นตอของปัญหาการเกิดโรค ประชาชนต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ภายใต้ศักยภาพพื้นที่ของตนเอง หน่วยงานเกี่ยวข้องทุกระดับให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของพื้นที่เป็นหลัก สามารถเชื่อมโยงผสมผสานแนวคิด องค์ความรู้ เข้ากับบริบทของพื้นที่ จึงจะทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไปในอนาคต จากปัญหาดังกล่าวนอกจากเป็นภัยต่อสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจการเมือง รวมทั้งส่งผลกระทบต่อหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ซึ่งมีหน้าที่ในการเฝ้าระวังป้องกัน และแก้ไขปัญหาจำเป็นจะต้องเตรียมการในเรื่องดังกล่าวให้ทันต่อเหตุการณ์หรือสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น แต่เนื่องจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ จึงจำเป็นจะต้องจัดเตรียมงบประมาณ บุคลากร และเครื่องมือ เพื่อใช้ในการดำเนินงานดังกล่าวในการดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้สามารถดำเนินการ/สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ
- 2 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคหรือภัยพิบัติให้อยู่ในวงจำกัด ไม่มีการระบาดเพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.๑ ประชาชนในพื้นที่ระบาดหรือมีภัยพิบัติเกิดขึ้น สามารถรู้จักป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคระบาด หรือภัยพิบัติได้อย่างถูกต้อง 8.๒ ลดอัตราการป่วยหรือตายจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อให้สามารถดำเนินการ/สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคหรือภัยพิบัติให้อยู่ในวงจำกัด ไม่มีการระบาดเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้สามารถดำเนินการ/สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ (2) 2 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคหรือภัยพิบัติให้อยู่ในวงจำกัด ไม่มีการระบาดเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านโรคระบาดหรือภัยพิบัติในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7252-05-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสมใจ จางวาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......