กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการโรงเรียนสีขาวร่วมใจ ห่างไกลสิ่งเสพติดโรงเรียนบ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 ”
โรงเรียนบ้านควนหมอทอง



หัวหน้าโครงการ
นายธนัญ วัธนอินทร์




ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนสีขาวร่วมใจ ห่างไกลสิ่งเสพติดโรงเรียนบ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านควนหมอทอง จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3312-2-11 เลขที่ข้อตกลง 9/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนสีขาวร่วมใจ ห่างไกลสิ่งเสพติดโรงเรียนบ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านควนหมอทอง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนสีขาวร่วมใจ ห่างไกลสิ่งเสพติดโรงเรียนบ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนสีขาวร่วมใจ ห่างไกลสิ่งเสพติดโรงเรียนบ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านควนหมอทอง รหัสโครงการ 68-L3312-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความเสี่ยงในการใช้ยาเสพติดในช่วงวัยเด็กและเยาวชนมีมากขึ้นแนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ไม่วา่จะเป็นการสนับสนุนความช่วยเหลือจากครอบครัว สังคมและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการร่วมมือของคนในชุมชน สำหรับแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับยาเสพติดของโรงเรียนบ้านควนหมอทอง ยังคงเน้นการป้องกันและการสร้างกลไกการเฝ้าระวังยาเสพติด สร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนอย่างเหมาะสมด้วยการเรียนการสอนที่ส่งเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตร รวมถึงการสนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นพื้นที่สีขาว ห่างไกลและปลอดภัยจากยาเสพติด นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนด้วยการแสวงหาความร่วมมือและ เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับชุมชน

โรงเรียนบ้านควนหมอทอง เป็นโรงเรียนขยายโอกาสขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 ตั้งอยู่ในชุมชนหมู่บ้าน 2 ศาสนา คือศาสนาพุทธและศาสนาอิสลาม มีทั้งประชากรท้องถิ่นดั้งเดิมและประชากรที่ย้ายเข้ามาอยู่อาศัย มีนักเรียนย้ายตามผู้ปกครอง ผูู้ปกครองส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป ทำงานโรงงาน มีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 มีจำนวน 60 คน ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากครอบครัวมีปัญหาหย่าร้าง บางครอบครัวผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลนักเรียนและมีการเปลี่ยนสถานที่ทำงานตามสภาพของเศรษฐกิจในสังคม จึงทำให้ผู้สูงอายุเป็นผู้ดูแลนักเรียนแทน ส่งผลให้นักเรียนขาดคนดูแลเอาใจใส่และขาดการอบรมบ่มนิสัยจากผูู้ปกครอง ทำให้มีปัญหาทั้งทางด้านการเรียน ปัญหาครอบครัว ขาดความรักความอบอุุ่นน ขาดการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ขาดระเบียบ วินัย ขาดความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคมส่วนรวม อยู่ในสังคมที่มีแบบอย่างที่ไม่ดี ทําให้ขาดเกราะป้องกัน หรือไม่มีภูมิคุุ้มกันในตนเอง รวมไปถึงอาจมีอัตราเสี่ยงในเรื่องการติดเกม ติดโทรศัพท์ และที่สำคัญคือการยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอบายมุขต่าง ๆ โรงเรียนบ้านควนหมอทองเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนสีขาวร่วมใจห่างไกลสิ่งเสพติด เพื่อนำมาใช้เป็นแผนปฏิบัติการในการป้องกันดูแลไม่ให้นักเรียนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอบายมุขทุกชนิด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวโทษ/ภัยของยาเสพติด
  2. เพื่อจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างอย่างสร้างสรรค์ห่างไกลสิ่งเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเดินรณรงค์เนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลกและวันต่อต้านยาเสพติด
  2. กิจกรรมติดตามและประเมินผลงาน
  3. จัดกิจกรรมการใช้เวลาว่างอย่างสร้างสรรค์ (กิจกรรมการออกกำลังกายต้านยาเสพติด)
  4. จัดป้ายนิเทศให้ความรู้เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 5 เดือน
  5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนได้ตระหนักและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษ/ภัยของยาเสพติด 2.นักเรียนรู้จักวิธีการป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด 3.นักเรียนได้ร่วมกิจกรรมใช้เวลาว่างอย่างสร้างสรรค์และเป็นประโยชน์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวโทษ/ภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้ตระหนักและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษ/ภัยของยาเสพติด
60.00 100.00

 

2 เพื่อจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างอย่างสร้างสรรค์ห่างไกลสิ่งเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้ใช้เวลาว่างอย่างสร้างสรรค์ห่างไกลสิ่งเสพติด
70.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวโทษ/ภัยของยาเสพติด (2) เพื่อจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างอย่างสร้างสรรค์ห่างไกลสิ่งเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเดินรณรงค์เนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลกและวันต่อต้านยาเสพติด (2) กิจกรรมติดตามและประเมินผลงาน (3) จัดกิจกรรมการใช้เวลาว่างอย่างสร้างสรรค์ (กิจกรรมการออกกำลังกายต้านยาเสพติด) (4) จัดป้ายนิเทศให้ความรู้เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 5 เดือน (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนสีขาวร่วมใจ ห่างไกลสิ่งเสพติดโรงเรียนบ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3312-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธนัญ วัธนอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด