กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาด โรคไข้เลือดออกโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืนเพื่อ มิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชนและโรงเรียน - อัตราป่วยลดลงร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน ย้อนหลัง 5 ปี - ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 - ร้อยละ 100 ของโรงเรียนและวัดมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 - ร้อยละ 100 ของการควบคุมการระบาดโรคได้ตามมาตรฐาน
0.00

 

2 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคโดยชุมชน
ตัวชี้วัด : ชุมชนโรงเรียน หน่วยงานราชการ มัสยิด ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก - อัตราป่วยลดลงร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน ย้อนหลัง 5 ปี - ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 - ร้อยละ 100 ของโรงเรียนและวัดมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 - ร้อยละ 100 ของการควบคุมการระบาดโรคได้ตามมาตรฐาน
0.00

 

3 เพื่อให้ลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ลดลงร้อยละ 90 - อัตราป่วยลดลงร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน ย้อนหลัง 5 ปี - ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 - ร้อยละ 100 ของโรงเรียนและวัดมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 - ร้อยละ 100 ของการควบคุมการระบาดโรคได้ตามมาตรฐาน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาด โรคไข้เลือดออกโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย (2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคโดยชุมชน (3) เพื่อให้ลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน อสม.และผู้นำชุมชน (2) ลงพื้นที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน การดำเนินการประชาสัมพันธ์และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในหมู่บ้านโดยใช้หลักการ 5 ป.1 ข.ดอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออก และ การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในชุมชน จำนวน 5 หมู่บ้าน (3) ลงพื้นที่พ่นหมอกควัน ติดตามเฝ้าระวังความชุกของลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ระบาดและส่วนราชการ โรงเรียน ชุมชนในพื้นที่ตำบลตะปอเยาะ (4) กิจกรรมที่ 4 ลงพื้นที่ออกสอบสวนโรคไข้เลือดออกที่บ้านผู้ป่วยยืนยันและแจกอุปกรณ์กำจัดยุงตัวแก่และครีม โลชั่นป้องกันยุง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh