กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็ก 0 - 5 ปี ตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ( DSPM)9 พฤศจิกายน 2561
9
พฤศจิกายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลท่าบอน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประเมินความรู้ก่อนการจัดกิจกรรมให้ความรู้
  2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็ก 0 - 5 ปี ตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ( DSPM)
      - พัฒนาการตามวัย การกระตุ้นพัฒนาการเด็ก และการประเมินพัฒนาการเด็ก 0 - 5 ปี
      - โภชนาการและอาหารตามวัย/นมแม่
      - อุบัติเหตุตามวัย
  3. แจกคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กกรณีผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กไม่ได้รับคู่มือหรือทำให้สูญหาย ( จากการสำรวจพบว่าผู้ปกครองไม่มีคู่มือ ร้อยละ 70 )
  4. จัดกิจกรรมกลุ่มเพื่ออภิปรายผลการเรียนรู้โดยแบ่งกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 4 กลุ่ม เท่าๆกัน
  5. ประเมินความรู้หลังการจัดกิจกรรมให้ความรู้
  6. บันทึกข้อมูลผู้รับบริการและลงผลการประเมินพัฒนาการ ในโปรแกรม JHCIS เพื่อส่งข้อมูลไปยัง Ranode HIS Center ต่อไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 - 5 ปี ที่ถูกต้อง ร้อยละ 85
  2. ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กมีทักษะในการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 0 - 5 ปี ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
  3. เด็ก 0 - 5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละ 100
  4. เด็ก 0 - 5 ปี ที่มีพัฒนาการล่าช้าการส่งต่อเพื่อรักษาอย่างต่อเนื่อง  ร้อยละ 100
ประชาสัมพันธ์โครงการด้วยป้ายประชาสัมพันธ์15 มีนาคม 2561
15
มีนาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลท่าบอน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายในหมู่บ้าน ไวนิล และอสม.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0 - 5 ปี ที่ถูกต้อง ร้อยละ 85
  2. ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กมีทักษะในการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 0 - 5 ปี ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
  3. เด็ก 0 - 5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละ 100
  4. เด็ก 0 - 5 ปี ที่มีพัฒนาการล่าช้าการส่งต่อเพื่อรักษาอย่างต่อเนื่อง  ร้อยละ 100