โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก |
รหัสโครงการ | 68-L1482-02-10 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านหนองหว้า |
วันที่อนุมัติ | 1 ตุลาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 36,220.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายวิชัย กังเจริญกุล |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 75 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ ของประเทศทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ และเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสาคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิด ในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหา วิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรค ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสาคัญ และถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนาให้ ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรม สาคัญที่ต้องเร่งรัดดาเนินการจากการวิเคราะห์สาเหตุที่สาคัญของการดาเนินการเฝ้าระวังและป้องกันโรค ไข้เลือดออก ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองหว้า ประชาชนขาดความตระหนัก และความเอาใจใส่ในการควบคุมและทาลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย บริเวณบ้านเรือนของตนเอง ทั้งนี้ การกระจายตัวของโรคไข้เลือดออกจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการ แพร่กระจายของโรคไข้เลือดออก การป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองหว้า จึงจัดทาโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อสร้าง ความเข้าใจแก่ประชาชน องค์กรในชุมชนให้เกิดความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรค ไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสานึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้าน โรงเรียน ศาสนสถาน และสถานบริการสาธารณสุข
|
0.00 | |
2 | เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลดลง ร้อยละ 20
|
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 36,220.00 | 0 | 0.00 | |
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมอบรมฟื้นฟูการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก | 0 | 14,550.00 | - | ||
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมเดินรณรงค์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 3 หมู่บ้าน หมู่ที่ 4,6,7 | 0 | 2,170.00 | - | ||
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมควบคุมโรคไข้เลือดออกเมื่อเกิดการระบาด สถานที่หมู่ 4,6,7 ให้โรงเรียนและศูนย์สสม. | 0 | 19,500.00 | - |
1 ประชาชนมีส่วนร่วมในการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบริเวณบ้าน โรงเรียน ศาสนสถานและสถานบริการสาธารณสุข อัตราความชุกของค่าดัชนีลูกน้ายุงลายในชุมชน (HI, CI) ลดลง ร้อยละ ๘๐ 2 อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลดลงตามเป้าหมายที่วางไว้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ต.ค. 2567 00:00 น.